ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การค้ามนุษย์.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายและการขับเคลื่อน
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนการการทำงานชุมชน
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลไกการตอบแทนคุณระบบนิเวศ: กรณีศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำน่าน ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การจ่ายค่าตอบแทนบริการทางนิเวศวิทยา (payment for ecological services – PES) การจ่ายค่าตอบแทน (payments) ตามมูลค่าในตลาด การให้รางวัล (rewards) การจ่ายค่าชดเชย (compensation) การให้รางวัลสำหรับผู้ที่ทำให้เกิดบริการทางด้านนิเวศวิทยา หรือผู้ที่จัดทำคุณประโยชน์ ทางด้านสิ่งแวดล้อม ชาวบ้านหรือชุมชนจะได้รับค่าตอบแทนจากการที่เป็นผู้ที่เสียสละหรือจัดการให้เกิดความ ยั่งยืนของระบบนิเวศ ค่าตอบแทนอาจเป็นในรูปของเงินและ/หรือผลประโยชน์ แรงจูงใจในรูปแบบอื่นๆ เช่น อาหาร สิ่งของเครื่องใช้ โอกาสในการทำงาน สิทธิประโยชน์ หรือการพัฒนาคุณภาพชีวิต Pro-poor PES – เป็นการใช้กลไก PES เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาความยากจนไปพร้อมๆ กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (win-win solution)

กลไกเชิงนโยบาย (policy tools) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: 3 แบบจำลองเชิงแนวคิด การควบคุมสั่งการโดยรัฐ (command-and-control) การจัดการทรัพยากรโดยความร่วมมือของชุมชน (community-based natural resource management –CBNRM) การใช้กลไกของตลาดในการสร้างแรงจูงใจ (market values) เช่น ระบอบกรรมสิทธิ์ ทรัพยากรส่วนบุคคล การซื้อขาย PES กรอบความคิดที่ใช้ในการศึกษา สิทธิในทรัพยากร (entitlement) อำนาจและความสัมพันธ์เชิงอำนาจ (power) การปกครองจิตสำนึกของประชาชน (governmentality) วิถีการดำรงชีพ (livelihood) สถาบันสังคม (institutions) ผู้กระทำการทางสังคม (social actors)

กรณีศึกษาจังหวัดน่าน: การปลูกข้าวโพด VS ระบบนิเวศลุ่มน้ำตอนบน วิถีการดำรงชีพของชาวบ้าน บริการนิเวศวิทยาของลุ่มน้ำตอนบน

ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำน่าน: ผลการศึกษาเบื้องต้น เศรษฐศาสตร์การเมืองของการปลูกข้าวโพดในจังหวัดน่าน – เป็นความเชื่อมโยงของ โครงสร้างอำนาจและผลประโยชน์ตั้งแต่ระดับโลกลงมาถึงระดับท้องถิ่น ที่ประกอบ ไปด้วยผู้กระทำการที่สำคัญ เช่น รัฐบาล นักการเมืองระดับชาติ นักการเมืองท้องถิ่น สถาบันการเงิน สหกรณ์การเกษตร บรรษัทขนาดใหญ่ พ่อค้า สมาพันธ์ผู้ปลูกข้าวโพด และเกษตรกร วาทกรรมชาวบ้าน “ไม่มีทางเลือกอื่น เป็นวิถีการดำรงชีพ” ปรากฏการณ์ของการปลูกข้าวโพดในจังหวัดน่านจึงเป็นการ “ร่วมชุมนุมกัน” (assemblages) ของความสัมพันธ์เชิงอำนาจของกลุ่มผู้กระทำการและสถาบันต่างๆ ที่ เป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการปลูกข้าวโพดในเชิงพาณิชย์

รูปแบบ กลไก และกระบวนการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำน่าน รูปแบบการดำเนินการของกองทุนลุ่มน้ำน่านควรเป็นลักษณะของคณะกรรมการร่วม หลายฝ่าย ควรนำเอาบทเรียนและประสบการณ์การเรียนรู้ของท้องถิ่นจากกองทุนที่มีการ ดำเนินการมาก่อน เช่น เครือข่ายทางสังคมของชาวบ้าน โดยการเปิดโอกาสให้ชาวบ้าน ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง การจ่ายค่าตอบแทนอาจเป็นดาบสองคม กล่าวคือ อาจนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็ง หรือสร้างความอ่อนแอให้กับระบบการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ เช่น ป่า ชุมชน และระบบเหมืองฝาย กลไกการจ่ายเป็นเงินสดให้กับชาวบ้านเป็นรายบุคคลอาจไปทำลายขนบธรรมเนียม ประเพณีในการร่วมมือกันของชุมชน

สถาบันและองค์กรในการจัดการกองทุนลุ่มน้ำน่าน ชาวบ้าน: เห็นว่าไม่ควรให้องค์กรใดองค์กรหนึ่งดำเนินการแต่เพียงผู้เดียว แต่ควรดำเนินการ ในรูปแบบของคณะกรรมการหลายฝ่ายร่วมกัน แต่เน้นเรื่องการให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วม อย่างแท้จริง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท): มีแนวโน้มที่จะเห็นว่าองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ. และเทศบาล มีศักยภาพที่จะเป็นผู้บริหารและจัดการกองทุน เพราะมีประชาชน เป็นผู้ตรวจสอบผ่านการเลือกตั้ง หน่วยราชการ: เห็นว่าตนเองยังควรมีบทบาทในการบริหารจัดการกองทุนลุ่มน้ำ อย่างน้อยก็ ในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนและช่วยเหลือทางวิชาการและกฎหมาย ภาคประชาสังคม: เห็นว่าควรทำในรูปของเครือข่ายภาคประชาชน หน่วยงานของรัฐและ ท้องถิ่นเป็นผู้สนับสนุน ภาคเอกชน: มีแนวโน้มที่จะให้มีการบังคับใช้กฎหมายไปพร้อมๆกับการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำ

สรุป ความเป็นไปได้ และประเด็นที่ท้าทาย การดำเนินการจัดตั้งกองทุนลุ่มน้ำควรเป็นในลักษณะของผสมผสานกันของหลายฝ่าย เข้าด้วยกัน (hybrid system) ที่อยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม เกือบทุกฝ่ายต่างเห็นว่า “เงินเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ทางออกของปัญหา” คนที่ร่ำรวยและมีอำนาจอาจมีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์จากกองทุนมากกว่าคนจน (elite capture) ปัญหาการขาดความเชื่อมั่นศรัทธาในชาวบ้านยังคงมีอยู่ในหลายกลุ่มผู้กระทำการ ปัญหาการเพิ่มขึ้นของหนี้สินและบริโภคนิยมในหมู่ชาวบ้าน ความรู้ เทคนิควิทยา และเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ในการวัดและประเมินคุณค่า ทางด้านนิเวศวิทยาของพื้นที่ลุ่มน้ำตอนบน