แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ผลการสัมมนา กลุ่มที่ ๒ ผู้ร่วมสัมมนา น.ท.บำเพ็ญ ศรีสมบัติ ประธาน ฯ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
๑. การพัฒนาบุคลากร. ๑. การพัฒนาบุคลากร ๑. การแต่งกายบุคลิกลักษณะท่าทาง -การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน ๑๑ ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ ๗.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.)
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ประชุมผู้บริหาร สพป. ตาก เขต ๒ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ ห้องประชุม โรงเรียนแม่สอด.
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
การประชุมคณะอนุกรรมการ
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
โครงสร้างองค์การส่วนกลาง (ฉบับแก้ไข)
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน กลุ่มที่ ๒

รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ ๒ รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ ๒ ชื่อสกุล ตำแหน่ง จังหวัด หมายเหตุ ๑. นายวันชัย อุตสาหะ ๒. นายสมจิตร ธีระบุญชัย ๓. นายพิชิต พิชัยรัตน์ ๔. นายชุมพล ตนะไชย ๕. นายชลินทร์ ประพฤติตรง ๖. นายพนม ธรรมเพ็ชร์ ๗. นายไพฑูรย์ น้ำทิพย์ ๘. นายอเนก ร่วมพร ๙. นายไพฑูรย์ ศรีช่วย ๑๐. นายเลิศพงศ์ ต.ไชยสุวรรณ ๑๑. นายสหัส รัตนบุรี ๑๒. นางมะยม เนียมสุวรรณ์ ๑๓. นายศิริพันธ์ พงษ์ประเสริฐ ๑๔. นางวรรณา เลื่องปุ้ย ๑๕. นายไพศาล เชษฐสำเภา ๑๖. นายวิโรจน์ จันทร์ขาว ๑๗. นายเมธี เศรษฐบุบผา ๑๘. นายมนตรี เรืองพันธุ์ ๑๙. นายถาวร เสงี่ยมวงษ์ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ เกษตรอำเภอวิหารแดง เกษตรอำเภอเมืองนครนายก นวส. ปฏิบัติการ เกษตรอำเภอทุ่งสง นวส. ชำนาญการ นวก. ชำนาญการ เกษตรอำเภอนาดูล อยุธยา นครราชสีมา ปราจีนบุรี พิษณุโลก สุราษฎร์ธานี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา สกลนคร ชลบุรี นครศรีธรรมราช พิจิตร สมุทรปราการ กำแพงเพชร บุรีรัมย์ กองแผนงาน มหาสารคาม ประจวบคีรีขันธ์ ลพบุรี ประธาน สมาชิกกลุ่ม ,, เลขานุการ

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๑ ข้อมูลด้านการเกษตร ๑.๑ การจัดเก็บและปรับปรุงฐานข้อมูล ด้านการเกษตรให้เป็นปัจจุบัน ถูกต้องครบถ้วน 1. รวบรวมจากฐานข้อมูลเดิม ๒. ใช้บุคลากรอาสาสมัครเกษตร คณะกรรมการบริหาร ศบกต. อปท. ในการสำรวจจัดเก็บข้อมูล ๓. ใช้คณะกรรมการ ศบกต. และ อปท. เป็นผู้ตรวจสอบ วิเคราะห์ ความถูกต้อง รับรองข้อมูล และจัดให้มี เวทีในการนำเสนอข้อมูล ๔. จัดหมวดหมู่ของข้อมูลให้ถูกต้อง ๕. การเชื่อมโยงฐานข้อมูลให้สามารถใช้ได้ อย่างเอกภาพ (ระบบสารสนเทศ ด้านการเกษตร) ๖. จัดให้มีสมุดทะเบียนเกษตรกรราย ครัวเรือน ๑. เพื่อให้ข้อมูลมีเอกภาพ ๒. เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และ เกิดการบูรณาการในการ จัดทำฐานข้อมูล

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๒. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ๒.๑ ที่มาของแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ๑.๑ วิเคราะห์ปัญหาและการพัฒนาแบบ มีส่วนร่วม เพื่อจัดทำแผนฯ แบบบูรณาการ (กรมส่งเสริม+อปท.) ๑.๒ นำเสนอการวิเคราะห์ปัญหา และ โครงการเพื่อเข้าสู่การจัดเวทีชุมชน ของ อบต. - เพื่อให้แผนพัฒนาการเกษตรได้รับการตอบสนองจาก อปท. และเกิดประโยชน์แก่เกษตรกร

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (ต่อ) ๒.๒ การนำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลไปสู่การปฏิบัติ และให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ๒.๑ จัดทำโครงการเพื่อเสนอและทำ โครงการเก่าที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุน งบประมาณมาเสนอและบรรจุเข้า แผนใหม่ ๒.๒ อำเภอทำหนังสือส่งแผนฯ อบต. บรรจุ แผนที่ผ่านการประชาคมเข้าแผน ๓ ปี ของ อบต. ๒.๓ การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง องค์กร (กรมส่งเสริม+อปท.) - เพื่อให้แผนพัฒนาการเกษตรได้รับการตอบสนองจาก อปท. และเกิดประโยชน์แก่เกษตรกร

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๓. การถ่ายทอดความรู้ ๓.๑ การขับเคลื่อนในการถ่ายทอดความรู้ ๑. กำหนดประเด็น และหลักสูตรให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนา (กำหนดแผน ถ่ายทอดความรู้) ๒. กำหนดทีมถ่ายทอดฯ และพัฒนา ทีมวิทยากร ๓. สร้างจุดสาธิตพร้อมวิทยากร (จุดถ่ายทอดเทคโนโลยี) ๔. ถ่ายทอดและจัดกระบวนการเรียนรู้ ๕. ประเมินผลการถ่ายทอดความรู้ - เกษตรกรมีความรู้และนำไปปฏิบัติ

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๔. การให้บริการด้านการเกษตร ๔.๑ One Stop Service เป็นจุดบริการร่วมด้านการเกษตร ๑. จัดเวรบริการประจำศูนย์ (คณะกรรมการ ศบกต.) ๒. กำหนดให้เจ้าหน้าที่ อบต. มารับผิดชอบ งานให้บริการเกษตรกร ประชาชน ๓. พัฒนาความรู้ให้กับคณะกรรมการฯ ให้มี ความรู้ด้านการเกษตร ๔. อบต. สนับสนุนการบริการ E-Service ในการให้บริการความรู้พร้อมทั้งมี เจ้าหน้าที่บริการ ๕. เพิ่มกรอบอัตรากำลัง ตำแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร - สามารถแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกรได้ทันท่วงที

แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๕. การส่งเสริมอาชีพการเกษตรแก่เกษตรกร/ราษฎร ๕.๑ บทบาทของ ศบกต. ในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกร ๑. จัดกลุ่มเป้าหมายในแผนพัฒนา การเกษตร ๒. มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคี เครือข่ายทั้งภายในและภายนอก ๓. มีการบูรณาการงบประมาณกับ อปท. และหน่วยงานสนับสนุนอื่นๆ ๔. มีแผนเชื่อมโยงการตลาดให้ครบวงจร ๕. ประชาสัมพันธ์ - เกษตรกรมีรายได้อย่างยั่งยืน

กลุ่มที่ ๒ ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณครับ กลุ่มที่ ๒ ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณครับ