แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน กลุ่มที่ ๒
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ ๒ รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ ๒ ชื่อสกุล ตำแหน่ง จังหวัด หมายเหตุ ๑. นายวันชัย อุตสาหะ ๒. นายสมจิตร ธีระบุญชัย ๓. นายพิชิต พิชัยรัตน์ ๔. นายชุมพล ตนะไชย ๕. นายชลินทร์ ประพฤติตรง ๖. นายพนม ธรรมเพ็ชร์ ๗. นายไพฑูรย์ น้ำทิพย์ ๘. นายอเนก ร่วมพร ๙. นายไพฑูรย์ ศรีช่วย ๑๐. นายเลิศพงศ์ ต.ไชยสุวรรณ ๑๑. นายสหัส รัตนบุรี ๑๒. นางมะยม เนียมสุวรรณ์ ๑๓. นายศิริพันธ์ พงษ์ประเสริฐ ๑๔. นางวรรณา เลื่องปุ้ย ๑๕. นายไพศาล เชษฐสำเภา ๑๖. นายวิโรจน์ จันทร์ขาว ๑๗. นายเมธี เศรษฐบุบผา ๑๘. นายมนตรี เรืองพันธุ์ ๑๙. นายถาวร เสงี่ยมวงษ์ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ เกษตรอำเภอวิหารแดง เกษตรอำเภอเมืองนครนายก นวส. ปฏิบัติการ เกษตรอำเภอทุ่งสง นวส. ชำนาญการ นวก. ชำนาญการ เกษตรอำเภอนาดูล อยุธยา นครราชสีมา ปราจีนบุรี พิษณุโลก สุราษฎร์ธานี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา สกลนคร ชลบุรี นครศรีธรรมราช พิจิตร สมุทรปราการ กำแพงเพชร บุรีรัมย์ กองแผนงาน มหาสารคาม ประจวบคีรีขันธ์ ลพบุรี ประธาน สมาชิกกลุ่ม ,, เลขานุการ
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๑ ข้อมูลด้านการเกษตร ๑.๑ การจัดเก็บและปรับปรุงฐานข้อมูล ด้านการเกษตรให้เป็นปัจจุบัน ถูกต้องครบถ้วน 1. รวบรวมจากฐานข้อมูลเดิม ๒. ใช้บุคลากรอาสาสมัครเกษตร คณะกรรมการบริหาร ศบกต. อปท. ในการสำรวจจัดเก็บข้อมูล ๓. ใช้คณะกรรมการ ศบกต. และ อปท. เป็นผู้ตรวจสอบ วิเคราะห์ ความถูกต้อง รับรองข้อมูล และจัดให้มี เวทีในการนำเสนอข้อมูล ๔. จัดหมวดหมู่ของข้อมูลให้ถูกต้อง ๕. การเชื่อมโยงฐานข้อมูลให้สามารถใช้ได้ อย่างเอกภาพ (ระบบสารสนเทศ ด้านการเกษตร) ๖. จัดให้มีสมุดทะเบียนเกษตรกรราย ครัวเรือน ๑. เพื่อให้ข้อมูลมีเอกภาพ ๒. เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และ เกิดการบูรณาการในการ จัดทำฐานข้อมูล
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๒. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ๒.๑ ที่มาของแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ๑.๑ วิเคราะห์ปัญหาและการพัฒนาแบบ มีส่วนร่วม เพื่อจัดทำแผนฯ แบบบูรณาการ (กรมส่งเสริม+อปท.) ๑.๒ นำเสนอการวิเคราะห์ปัญหา และ โครงการเพื่อเข้าสู่การจัดเวทีชุมชน ของ อบต. - เพื่อให้แผนพัฒนาการเกษตรได้รับการตอบสนองจาก อปท. และเกิดประโยชน์แก่เกษตรกร
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (ต่อ) ๒.๒ การนำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลไปสู่การปฏิบัติ และให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ๒.๑ จัดทำโครงการเพื่อเสนอและทำ โครงการเก่าที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุน งบประมาณมาเสนอและบรรจุเข้า แผนใหม่ ๒.๒ อำเภอทำหนังสือส่งแผนฯ อบต. บรรจุ แผนที่ผ่านการประชาคมเข้าแผน ๓ ปี ของ อบต. ๒.๓ การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง องค์กร (กรมส่งเสริม+อปท.) - เพื่อให้แผนพัฒนาการเกษตรได้รับการตอบสนองจาก อปท. และเกิดประโยชน์แก่เกษตรกร
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๓. การถ่ายทอดความรู้ ๓.๑ การขับเคลื่อนในการถ่ายทอดความรู้ ๑. กำหนดประเด็น และหลักสูตรให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนา (กำหนดแผน ถ่ายทอดความรู้) ๒. กำหนดทีมถ่ายทอดฯ และพัฒนา ทีมวิทยากร ๓. สร้างจุดสาธิตพร้อมวิทยากร (จุดถ่ายทอดเทคโนโลยี) ๔. ถ่ายทอดและจัดกระบวนการเรียนรู้ ๕. ประเมินผลการถ่ายทอดความรู้ - เกษตรกรมีความรู้และนำไปปฏิบัติ
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๔. การให้บริการด้านการเกษตร ๔.๑ One Stop Service เป็นจุดบริการร่วมด้านการเกษตร ๑. จัดเวรบริการประจำศูนย์ (คณะกรรมการ ศบกต.) ๒. กำหนดให้เจ้าหน้าที่ อบต. มารับผิดชอบ งานให้บริการเกษตรกร ประชาชน ๓. พัฒนาความรู้ให้กับคณะกรรมการฯ ให้มี ความรู้ด้านการเกษตร ๔. อบต. สนับสนุนการบริการ E-Service ในการให้บริการความรู้พร้อมทั้งมี เจ้าหน้าที่บริการ ๕. เพิ่มกรอบอัตรากำลัง ตำแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร - สามารถแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกรได้ทันท่วงที
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่ร่วมกัน ประเด็น แนวทางการปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๕. การส่งเสริมอาชีพการเกษตรแก่เกษตรกร/ราษฎร ๕.๑ บทบาทของ ศบกต. ในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกร ๑. จัดกลุ่มเป้าหมายในแผนพัฒนา การเกษตร ๒. มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคี เครือข่ายทั้งภายในและภายนอก ๓. มีการบูรณาการงบประมาณกับ อปท. และหน่วยงานสนับสนุนอื่นๆ ๔. มีแผนเชื่อมโยงการตลาดให้ครบวงจร ๕. ประชาสัมพันธ์ - เกษตรกรมีรายได้อย่างยั่งยืน
กลุ่มที่ ๒ ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณครับ กลุ่มที่ ๒ ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณครับ