สถานการณ์ยาเสพติดพื้นที่ กรุงเทพมหานคร โดย ศตส.กทม.
กรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่เป็น 50 เขต กรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่เป็น 50 เขต
สถิติการจับกุมยาเสพติดพื้นที่กทม. เดือนตุลาคม 2550 - เมษายน 2551 ข้อมูลจาก ศตส.บชน. ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
สถิติการจับกุมยาเสพติดพื้นที่กทม. เดือนเมษายน 2551 บางกอกน้อย บางกะปิ บางกอกใหญ่ ประเวศ ดินแดง ลาดกระบัง ธนบุรี คลองเตย ดอนเมือง จอมทอง
ครอบครองเพื่อจำหน่าย การจับกุมยาเสพติดแยกตามข้อหา และชนิดยาเสพติด เดือนเมษายน 2551 ไอซ์ พืชกระท่อม สารระเหย อื่นๆ กัญชา เสพ ยาบ้า ครอบครองเพื่อจำหน่าย อื่นๆ จำหน่าย ครอบครอง ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
สถิติจับกุมคดีค้า เดือนเมษายน 2551 รวมข้อหาค้าทั้งหมด 564 คดี โคเคน ยาอี กัญชา ไอซ์ รวมข้อหาค้าทั้งหมด 564 คดี ยาบ้า บางกะปิ ราชเทวี จตุจักร บึงกุ่ม หนองแขม คลองเตย ลาดกระบัง พระนคร ยานนาวา บางกอกน้อย คดีค้า:ประกอบด้วย ข้อหาผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย และครอบครองเพื่อจำหน่าย ที่มา : ศตส.บชน.
สถิติการจับกุมยาเสพติดข้อหาเสพ เดือนเมษายน 2551 พืชกระท่อม รวมข้อหาเสพทั้งหมด 3,443 คดี สารระเหย ไอซ์ กัญชา ยาบ้า บางกอกน้อย บางกะปิ บางกอกใหญ่ ประเวศ จอมทอง คลองเตย ลาดกระบัง ดอนเมือง ดินแดง ธนบุรี คดีเสพ : ประกอบด้วย ข้อหาครอบครองและเสพ ที่มา : ศตส.บชน.
ผลการดำเนินงาน พื้นที่ที่มีการร้องเรียน เมษายน 2551 ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
สถิติการบำบัดรักษายาเสพติดพื้นที่กรุงเทพมหานคร เดือนตุลาคม 2550 - เมษายน 2551 ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำแนกตามช่วงอายุ เดือนเมษายน 2551 ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำแนกตามอาชีพ เดือนเมษายน 2551 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งหมด 704 ราย อาชีพช่าง มีผู้เข้ารับการบำบัดรักษามากถึงร้อยละ 39 และอาชีพว่างงานร้อยละ 32 ณ วันที่ 30 เมษายน 2551
ผู้เข้ารับการบำบัด แยกตามระบบ เดือนเมษายน 2551 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งหมด 704 ราย ร้อยละ 75 เป็นระบบบังคับบำบัด (จำนวน 530 ราย) ร้อยละ 86 เป็นเพศชาย
ผู้เข้ารับการบำบัด แยกตามชนิดยาเสพติด เดือนเมษายน 2551 สารระเหย กัญชา อื่นๆ เฮโรอีน ยาบ้า
สรุปสถานการณ์ยาเสพติดกรุงเทพมหานคร กทม. เป็นพื้นที่ที่มีการค้าและแพร่ระบาดระดับสูงในทุกเขต ยาเสพติดที่มีการค้าและแพร่ระบาด ยังเป็นยาบ้า ราคายาบ้า อยู่ระหว่าง 190 – 300 บาท (ราคาน้อยสุดที่เขตยานนาวา) ผู้เข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 18 – 24 ปี และเป็นผู้เสพรายใหม่ ซึ่งการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในพื้นที่ ควรเน้นที่กลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นส่วนใหญ่