งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ปัญหายาเสพติดภาคใต้ตอนล่าง ห้วงปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ปัญหายาเสพติดภาคใต้ตอนล่าง ห้วงปี 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์ปัญหายาเสพติดภาคใต้ตอนล่าง ห้วงปี 2555
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดภาคใต้ตอนล่าง ห้วงปี 2555 สำนักงาน ปปส. ภาค 9

2 แหล่งที่มาของยาเสพติด
ยาบ้า ไอซ์ เฮโรอีน ฝิ่น กัญชา ยาบ้า ยาบ้า ไอซ์ ยาบ้า ไอซ์ ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง มีหลากหลายมากกว่า 10 ชนิด Club drugs, พืชกระท่อม

3 กรณีตัวยาจากภายนอกประเทศ

4 การลักลอบนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
ยาเสพติดที่มีการลักลอบนำเข้า ได้แก่ พืชกระท่อม club Drug(เอ็กซ์ตาซี่ คีตามีน อีริมิน5) และกัญชาแห้ง จากข้อมูลการจับกุมและข้อมูลการข่าว พบว่ายังมีการนำเข้า ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มนักค้าชาวไทยและนักค้าต่างประเทศ ซึ่งรูปแบบการนำเข้ามีทั้งนำเข้ามาพร้อมตัวบุคคล การซุกซ่อนในยานพาหนะและในรูปแบบของไปรษณีย์ภัณฑ์ เพื่อนำมาแบ่งจำหน่ายให้กับลูกค้าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โดยส่วนใหญ่ยังคงเป็นการนำเข้ามาทางพื้นที่อำเภอชายแดน ผ่านทางช่องทางปกติ(ด่านศุลกากร)

5 การนำเข้า พืชกระท่อม ตัวยาหลักที่มีการลักลอบนำเข้าค่อนข้างมากในปี 2555 ที่ผ่านมา คือ พืชกระท่อม มีปริมาณการจับกุมหลักร้อยกิโลกรัมหลายครั้ง รวมของกลางไม่น้อยกว่า 1,000 กิโลกรัม ซึ่งพืชกระท่อมเหล่านี้มีจุดหมายส่วนใหญ่ในพื้นที่ 3 จชต.

6 การนำเข้า พืชกระท่อม สำหรับคดีการจับกุมพืชกระท่อม ที่มีปริมาณของกลางมากที่สุดในปี 2555 คือ การจับกุมเมื่อวันที่ 17 ส.ค.55 โดย ตชด.437 อ.สะเดา จ.สงขลา สามารถจับกุมผู้ต้องหา 1 คน ซึ่งมีภูมิลำเนาใน จ.นราธิวาส ของกลางพืชกระท่อม จำนวน 22 กระสอบ น้ำหนักประมาณ 730 กก. จากการสอบสวนเบื้องต้น ทราบว่า พืชกระท่อมทั้งหมดนำเข้ามาจากประเทศมาเลเซีย เพื่อนำไปจำหน่ายในราคากิโลกรัมละ 400 บาท

7 การลักลอบนำเข้าจากภาคอื่นๆ มาในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง นอกจากรถยนต์ รถโดยสารประจำทาง รถยนต์ส่วนบุคคลฯ กรณีเฝ้าระวัง “ทางไปรษณีย์” จากกรณีการตรวจยึด พัสดุไปรษณียภัณฑ์ ห้วง มิ.ย.-ส.ค.55 ณ ศูนย์ไปรษณีย์หาดใหญ่ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

8 ห้วงมิ.ย.-ส.ค.55 ได้ทำการตรวจยึดพัสดุไปรษณียภัณฑ์ ซึ่งซุกซ่อนยาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมาย โดยใช้เครื่องฉาย X-RAY ระเบิดแสวงเครื่องเคลื่อนที่จากชุด EOD ทัพเรือภาค 2 ในการตรวจสอบพัสดุไปรษณียภัณฑ์ ณ ศูนย์ไปรษณีย์หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา จำนวน 3 ครั้ง

9 รวมของกลางที่ตรวจยึดได้
◙ ครั้งที่ 1 เมื่อ มิถุนายน 2555 ◙ ครั้งที่ 2 เมื่อ กรกฎาคม 2555 ◙ ครั้งที่ 3 เมื่อ 7-8 สิงหาคม 2555 รวมของกลางที่ตรวจยึดได้ ใบพืชกระท่อมสด น้ำหนักรวมกว่า 650 กิโลกรัม ยาแก้ไอ จำนวนรวม 1,186 ขวด(ยี่ห้อ Cephendryl,ยี่ห้อTenadrin, ยี่ห้อเมคิดดัฟไซรัป, ,ยี่ห้อ Iwadil ,ไม่ติดสลากยี่ห้อ และยาแก้ไอที่บรรจุในขวดเครื่องดื่มชนิดอื่น เช่น โค้กขนาด 1.25 ลิตร,ขนาด 0.5 ลิตร, ชาเขียวโออิชิ เป็นต้น ** ตรวจสอบพบว่า มีทั้งที่เป็นยาแก้ไอที่เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ และเป็นยาแก้ไอที่ผสมน้ำต้มพืชกระท่อมแล้ว) อัลปราโซแลม จำนวนรวม 11,200 เม็ด กระสุนปืน รวม 2,600 นัด (.22 จำนวน 2,000 นัด, 9 ม.ม 300 นัด,ขนาด.357 จำนวน 50 นัด,.38 จำนวน 150 นัด,.45 จำนวน 50 นัด และลูกซอง 50 นัด) แม็กกาซีน ยาว .45 บรรจุ 15 นัด จำนวน 1 อัน

10 ครั้งที่ 1 เมื่อ 14-16 มิถุนายน 2555
ตรวจยึดพัสดุไปรษณีย์ 41 กล่อง ● พืชกระท่อมสด น้ำหนักรวมประมาณ 200 กิโลกรัม ● ยาแก้ไอ จำนวนรวม 500 ขวด (ยี่ห้อ Cephendryl,ยี่ห้อTenadrin, ไม่ติด สลากยี่ห้อ และที่บรรจุในขวดโค้ก, และขวดชาเขียว) ● อัลปราโซแลม รวม 3,200 เม็ด ● กระสุนปืน จำนวนรวม 700 นัด (ขนาด.22 จำนวน 500 นัด,ขนาด 9 มม. จำนวน 150 นัด และกระสุนปืนลูกซอง 50 นัด

11 ของกลางที่ตรวจยึดได้ในครั้งนี้ มีต้นทางจากที่ทำการไปรษณีย์ต่างๆ 17 แห่ง มีปลายทางอยู่ในพื้นที่ 3 จชต. โดยเฉพาะ จ.นราธิวาส โดยแบ่งเป็น ✪ กรุงเทพมหานคร 14 แห่ง ได้แก่ - สะพานใหม่ - คลองจั่น - ตึกช้าง - สายไหม - วังทองหลาง ธนบุรี - บึงกุ่ม - ทุ่งครุ - รามคำแหง วัดเลียบ - ราษฎร์บูรณะ - สะพานสูง วังบูรพา - บางกะปิ ✪ จ.สมุทรสงคราม 1 แห่ง (อ.กระทุ่มแบน) ✪ จ.ปทุมธานี 1 แห่ง (อ.เมือง) ✪ จ.สงขลา 1 แห่ง (อ.สะเดา)

12

13 ครั้งที่ 2 เมื่อ 10-12 กรกฎาคม 2555
ยึดพัสดุไปรษณีย์ 40 กล่อง ● พืชกระท่อม น้ำหนักรวมประมาณ 400 กิโลกรัม ● ยาแก้ไอ จำนวนรวม 489 ขวด (ยี่ห้อCephendryl,ยี่ห้อTenadrin, ยี่ห้อเมคิดดัฟไซรัป,ยี่ห้อ Iwadil ไม่ติดสลากยี่ห้อ และที่บรรจุใน ขวดโค้ก และขวดชาเขียว) ● อัลปราโซแลม รวม 1,000 เม็ด ● กระสุนปืน จำนวนรวม 1,650 นัด (ขนาด.22 จำนวน1,500 นัด, ขนาด 9 มม.100 นัด และขนาด .38 จำนวน 50 นัด

14

15 พัสดุไปรษณียภัณฑ์ทั้งหมดถูกส่งมาจากที่ทำการไปรษณีย์ใน
✪ กรุงเทพมหานคร(คลองจั่น บึงกุ่ม สวนหลวง วังทองหลาง คันนายาว บางเขน พระนคร บางกะปิ สะพานสูง บางคอแหลม หัวหมาก มีนบุรี) ✪ ปทุมธานี (อ.เมือง,อ.ลาดหลุมแก้ว,อ.ธัญบุรี) ✪ นนทบุรี (อ.เมือง, อ.ปากเกร็ด, ) ✪ อยุธยา (อ.เมือง) ✪ สมุทรสาคร (อ.กระทุ่มแบน) ✪ ชลบุรี ( อ.เกาะจันทร์) โดยมีปลายทางอยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ จ.สตูล 

16 ครั้งที่ 3 เมื่อ 7-8 สิงหาคม 2555
● พืชกระท่อม จำนวน 18 กล่อง น.น. รวมกว่า 50 กิโลกรัม ● ยาแก้ไอ รวมจำนวน 197 ขวด (ยี่ห้อCephendryl,ยี่ห้อTenadrin, ยี่ห้อไม่ติดสลากยี่ห้อ และที่บรรจุในขวดโค้ก และขวดชาเขียว) ● อัลปราโซแลม รวม 7,000 เม็ด ● กระสุนปืน รวม 250 นัด (ขนาด.357 จำนวน 50 นัด,ขนาด.45จำนวน 50 นัด,ขนาด .38 จำนวน 100 นัด และขนาด 9 ม.ม.จำนวน 50 นัด) ● แม็กกาซีน .45 บรรจุ 15 นัด 1 อัน

17

18 ข้อพิจารณา พัสดุไปรษณียภัณฑ์ที่ตรวจยึดได้ทั้ง 3 ครั้ง ส่วนใหญ่มี ต้นทางอยู่ในพื้นที่ กทม.และปริมณฑล และมีปลายทางอยู่ในพื้นที่ 3 จชต. โดยเฉพาะ จ.นราธิวาส ซึ่งสามารถตรวจยึดสิ่งผิดกฎหมายได้มากที่สุด 2. การจ่าหน้าผู้รับ-ผู้ส่ง มักจะระบุชื่อปลอม บางกรณียังพบว่า มีการอ้างชื่อผู้รับเป็นนายทหาร เจ้าหน้าที่ตรวจสอบแล้ว พบว่า ทั้งชื่อและตำแหน่งเป็นการปลอมขึ้นมา

19 ข้อพิจารณา 3. ยาแก้ไอที่ตรวจยึดได้จากการลักลอบ
ส่งทางไปรษณีย์ มีทั้งที่ติดสลาก ยี่ห้อและที่ไม่ติดสลาก ได้แก่ ยี่ห้อ Cephendryl,Tenadrin,เมคิดดัฟ ไซรัป,ยี่ห้อ Iwadil รวมทั้งพบ ยาแก้ไอที่เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใส่ใน ขวดน้ำอัดลม เช่น ขวดโค้ก ขนาด ลิตร,ขนาด 0.5 ลิตร หรือใน ขวดชาเขียวโออิชิ เป็นต้น ทั้งนี้ยาแก้ไอที่บรรจุอยู่ในขวดน้ำอัดลม หรือขวดชาเขียวนั้น พบว่า บางส่วนเป็นยาแก้ไอที่เปลี่ยนเฉพาะบรรจุภัณฑ์เท่านั้น แต่บางส่วนเป็นยาแก้ไอที่ผสมกับน้ำต้มพืชกระท่อมแล้ว

20 ข้อพิจารณา 5. ในแต่ละกล่องจะบรรจุทั้งใบพืชกระท่อม ยาแก้ไอ ทั้งที่
5. ในแต่ละกล่องจะบรรจุทั้งใบพืชกระท่อม ยาแก้ไอ ทั้งที่ บรรจุขวด และเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใส่ไว้ในขวดน้ำอัดลม (โค้ก),ขวดชาเขียว และวัตถุออกฤทธิ์ รวมเป็นแพคเก็จพร้อมจำหน่าย เพื่อนำไปใช้ผลิตเป็นยาเสพติดสี่คูณร้อย

21 ปัญหาการค้าและการแพร่ระบาด

22 สถิติการจับกุมมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2554
การค้าและแพร่ระบาดยาเสพติดพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง สถิติการจับกุมมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2554

23 ในปี 54 และ 55 ตัวยาหลักยังคงเป็น ยาบ้า รองลงมา คือพืชกระท่อม และ ไอซ์
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง มกราคม-พฤศจิกายน 2555 มกราคม-พฤศจิกายน 2554 ในปี 54 และ 55 ตัวยาหลักยังคงเป็น ยาบ้า รองลงมา คือพืชกระท่อม และ ไอซ์ โดยไอซ์เพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2550 และแทนที่กัญชาในปี 2554

24 แนวโน้มการแพร่ระบาดยาเสพติดพื้นที่จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
ห้วง ปี แนวโน้มยากลุ่มกระตุ้นประสาท(ยาบ้า ไอซ์) จะเป็นตัวยาหลักมากกว่า 80% ปี 2554 ไอซ์ เริ่มแทนที่กัญชา ไอซ์ ยาบ้า

25 สัดส่วนการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่รายจังหวัด
3 ลำดับแรก ห้วง มกราคม-พฤศจิกายน 2555 อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 สงขลา ไอซ์ 43.92% ยาบ้า 31.91% พืชกระท่อม 15.16% ตรัง 76.92% พืชกระท่อม 5.70% 5.57% พัทลุง 58.51% 13.45% 10.49% สตูล 41.95% กัญชาแห้ง 16.85% ปัตตานี 38.56% 34.21% 5.60% ยะลา พืชกระท่อม 38.42% 31.87% 6.58% นราธิวาส 50.52% พืชกระท่อม 19.71% เฮโรอีน 7.17% กลุ่มตัวยาที่ติดอันดับ 1-3 ของแต่ละจังหวัด คือ ยาบ้า พืชกระท่อม ไอซ์และกัญชาแห้ง โดยตัวยาอันดับ 1 ของจังหวัดส่วนใหญ่ คือยาบ้า ยกเว้น จ.สงขลา เป็นไอซ์ และยะลาเป็นพืชกระท่อม นอกจากนี้ จ.นราธิวาสมีการเฮโรอีนเป็น 1-3 ตัวยาหลัก

26 ในปัจจุบันถือว่าต่ำลงค่อนข้างมาก
ราคายาเสพติด ในปัจจุบันถือว่าต่ำลงค่อนข้างมาก ยาบ้า ราคาเม็ดละ – 300 บาท บางพื้นที่ราคาต่ำมากคือ 130 หรือ 3 เม็ด 500 บาท ไอซ์ ราคาจีละ 2,500 – 3,500 บาท ราคาตักละ ,000 บาท กัญชาแห้ง ราคากิโลกรัมละ 15,000 – 18,000 บาท ราคาห่อละ บาท พืชกระท่อม ราคากิโลกรัมละ 300 – 1,400 บาท ราคาใบละ บาท น้ำกระท่อม ราคาลิตรละ 80 – 150 บาท เฮโรอีน ราคาหลอดละ บาท อัลปราโซแลม ราคาเม็ดละ บาท

27 พื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ปปส.ภ.9
ผลการดำเนินงาน ตามแผนพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม-21 มกราคม 2556 พื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ปปส.ภ.9

28 แผนงานที่ 1 หมู่บ้านประเภท 1 : ม.ไม่มีปัญหา
จังหวัด เป้า ผลงาน (จำนวนหมู่บ้าน) มีการประชาคมเพื่อดำรงสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน ไม่มีปัญหา ยาเสพติด พัฒนาแกนนำหมู่บ้าน/ชุมชนในการ แจ้งข่าว เฝ้าระวังปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่ มีการแจ้ง และเฝ้าระวังพฤติการณ์บุคคลที่สุ่มเสี่ยงต่อการเสพ/ค้า ยาเสพติด มีการแจ้ง และเฝ้าระวังแหล่งสุ่มเสี่ยงต่อการมั่วสุม ส่งเสริมให้สมาชิกในหมู่บ้าน/ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา มีการสร้างภูมิคุ้มกัน ให้สมาชิกในหมู่บ้าน/ชุมชน สงขลา 291 4 สตูล - ตรัง 68 พัทลุง 178 67 66 ปัตตานี 21 3 ยะลา 16 นราธิวาส 103 18 25 22 รวม 681 92 99 96 95 94 1% 38% 14% 24% 15% (1) มีการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 1 ภาพรวม 15% (2) จังหวัดที่มีการดำเนินการต่อเป้าหมายสูงสุดคือ จ. พัทลุง รองลงมา นราธิวาส และปัตตานี (3) ผลงานภาพรวมในแต่ละกิจกรรมใกล้เคียงกัน

29 แผนงานที่ 1 หมู่บ้านประเภท 2 : ม.ติดชายแดน
จังหวัด เป้า ผลงาน บูรณาการชุดกำลังปฏิบัติดำเนินการสกัดกั้นยาเสพติดในพื้นที่ พบ/ดำเนินการต่อผู้ค้า (คน) พบ/ดำเนินการต่อผู้เสพ (คน) พบ/ดำเนินการต่อผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง (คน) สงขลา 63 - สตูล 31 5 ยะลา 113 นราธิวาส 49 รวม 256 2% 2% มีการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 2 ภาพรวม 2% ที่สตูล มีผลงานต่อ โดยกิจกรรมที่ดำเนินการคือ การบูรณาการชุดกำลังปฏิบัติดำเนินการสกัดกั้น ยาเสพติดในพื้นที่

30 แผนงานที่ 1 หมู่บ้านประเภท 3 : ม.กองทุนแม่ 1 1 1 1 1 1
จังหวัด เป้า ผลงาน ร้อยละครัวเรือนที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนแม่ฯ ร้อยละแกนนำอาสาประชาชน ดูแลครัวเรือน ดูแล 1:5 ครัวเรือน ร้อยละครัวเรือนที่ผ่านผ่านการรับรองครัวเรือนปลอดภัย จำนวนม./ช. มีการจัดกิจกรรมกองทุนแม่ฯ ในพื้นที่ จำนวน ม./ช. พัฒนาสู่การเป็นศูนย์เรียนรู้บูรณาการสู่เศรษฐกิจพอเพียง มีการอบรม/พัฒนาแกนนำอาสาประชาชนกองทุนแม่ของแผ่นดิน(คน) สงขลา 200 4.55 - 12.66 6 7 80 สตูล 129 27.95 41.28 27.27 33 31 2,937 ตรัง 123 9.51 21.94 4 3 พัทลุง 152 36.13 11.3 26.73 58 70 1,245 ปัตตานี 0.06 0.53 1.05 17 16 55 ยะลา 171 12.95 73.57 14.36 2 10 นราธิวาส 186 1.72 1.27 11.47 74 417 รวม 1,084 15.92 20.78 17.41 194 203 4,744 3% 4% 1 26% 24% 1 3% 2% 1 38% 1 46% 14% 13% 1 1% 1% 1 40% 40% 18% 19% (1) มีการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 3 ภาพรวม 19% (2) จังหวัดที่มีผลการดำเนินงานสูงในแต่ละกิจกรรมเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่น คือ สตูลและพัทลุง รองลงมา ยะลาและนราธิวาส (3) ผลงานภาพรวมในแต่ละกิจกรรมใกล้เคียงกัน

31 แผนงานที่ 1 หมู่บ้านประเภท 4 : ม.ครบ7ขั้นตอน
จังหวัด เป้า ผลงาน (จำนวนหมู่บ้าน) สมาชิกหมู่บ้าน/ชุมชน เข้าร่วมดำเนินการตามแผนการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง มีการพัฒนาผู้นำ หมู่บ้าน/ชุมชน ให้มีการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด มีการบูรณาการการดำเนินงานเสริมสร้างความเข้มแข็งหมู่บ้าน/ชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สงขลา 1,162 47 48 สตูล 279 59 69 57 ตรัง 762 18 พัทลุง 715 485 486 ปัตตานี 676 100 99 ยะลา 449 42 111 นราธิวาส 679 441 371 รวม 4,722 1,192 1,273 1,120 4% 4% 4% 3 21% 3 25% 3 20% 2% 2% 2% 1 68% 1 68% 1 68% 15% 15% 15% 9% 25% 9% 2 65% 2 65% 2 55% 25% 27% 24% (1) มีการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 4 ภาพรวม 27% (2) จังหวัดที่มีผลการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 4 สูงสุด คือ จ.พัทลุง รองลงมา จังหวัดนราธิวาส และ จ.สตูล ตามลำดับ (3) ผลงานภาพรวมในแต่ละกิจกรรมใกล้เคียงกัน

32 การดำเนินการ 7 ขั้นตอน การจัดเวทีประชาคม การค้นหาผู้เสพผู้ติด
การค้นหาผู้ค้า การแก้ไขปัญหากลุ่มผู้ค้า การแก้ไขปัญหากลุ่มผู้เสพ การจัดตั้งอาสาสมัคร / พัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ที่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

33 แผนงานที่ 1 หมู่บ้านประเภท 5 : ม.รุนแรง ผลงาน (จำนวนหมู่บ้าน) 9%
จังหวัด เป้า ผลงาน (จำนวนหมู่บ้าน) มีการจัดทำข้อมูล ผู้ค้า ผู้เสพ (คน) มีการสืบสวนหาข่าว/วิเคราะห์ข่าวนักค้า ปราบปราม/ปิดล้อมตรวจค้น (ครั้ง/คน) ใช้มาตรการทางสังคมกดดันนักค้า ตั้งจุดตรวจ/จุดสกัดเดินเวรยามในชุมชน พัฒนาผู้นำ จัดตั้งอาสาสมัคร จัดทำแผนชุมชน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สงขลา 13 - สตูล 42 1 2 ตรัง 15 พัทลุง 11 5 4/12 7 ปัตตานี 10 ยะลา 24 นราธิวาส 16 3 รวม 131 6 12 9 9% (1) มีการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 5 ภาพรวม 9% (2) จังหวัดที่มีผลการดำเนินการต่อหมู่บ้านเป้าหมายประเภท 5 สูงสุด คือ จ.พัทลุง รองลงมา จังหวัดสตูล และนราธิวาสตามลำดับ (3) กิจกรรมที่มีการดำเนินการสูงสุดคือ การพัฒนาผู้นำ

34 ที่มา ข้อมูล บสต. และ ระบบรายงาน ศพส. ณ 21 ม.ค.56
แผนงานที่ 2 จังหวัด เป้าหมาย ผลงาน บำบัด ติดตาม อื่นๆ สงขลา 6,664 17,203 978 (15%) 966 (6%) - พัทลุง 1,800 4,200 318 (18%) 6 (0.1%) ตรัง 1,746 4,082 280 (16%) 10 (0.2%) จัดอบรมแนวทางการ บำบัดและติดตามให้แก่ แก่สถานพยาบาล 9แห่ง สตูล 3,233 270 (15%) 702 (5%) ปัตตานี 3,600 6,926 288 (8%) จัดตั้งสถานบำบัด ฟื้นฟูตามหลักศาสนา 3 แห่งที่ เมือง สายบุรี หนองจิก ยะลา 2,402 6,975 301(13%) 8 (0.1%) นราธิวาส 3,150 3,596 178(6%) รวม 17,162 46,215 2,613(15%) 1,692(4%) ที่มา ข้อมูล บสต. และ ระบบรายงาน ศพส. ณ 21 ม.ค.56 ผลการดำเนินการค่อนข้างน้อย ทั้งการบำบัดและติดตาม

35 แผนงานที่ 3 จังหวัดส่วนใหญ่มีการดำเนินการต่อเป้าหมายค่อนข้างน้อย
นร.ป.5-6 โรงเรียน สถานประกอบการ เป้า ผล ผล (ผ่านเกณฑ์) สงขลา 31,230 - 210 33 43 สตูล 8,455 69 24 8 ตรัง 16,220 103 1 20 พัทลุง 12,020 268 99 2 11 ปัตตานี 21,395 124 3 14 ยะลา 16,325 329 นราธิวาส 24,150 123 9 รวม 129,795 597 827 64 119 16% 35% 1% 2% 2% 18% 2% 2% 1% 0.5% 8% 18% จังหวัดส่วนใหญ่มีการดำเนินการต่อเป้าหมายค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะการดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันให้ นร.ป.5-6

36 ผลการจับกุมคดียาเสพติดข้อหาสำคัญและขยายผล (เป้าหมาย 40,000 ราย)
แผนงานที่ 4 ผลการจับกุมคดียาเสพติดข้อหาสำคัญและขยายผล (เป้าหมาย 40,000 ราย) หน่วย ขยายผล 40,000 ราย เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ สงขลา 1,300 สตูล 240 ตรัง 350 พัทลุง 440 ปัตตานี 352 47 13.35 ยะลา 392 14 3.57 นราธิวาส 391 รวม 3,465 211 6.09 136 หมายเหตุ ข้อมูลจาก ตร.ภ.9 และ ศชต.

37 ผลการดำเนินงานตามมาตรการตรวจสอบทรัพย์สิน
พื้นที่ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระดับความสำเร็จ มูลค่า (ลบ.) (ร้อยละ) สงขลา 85 สตูล 35 ตรัง 60 พัทลุง 40 ปัตตานี 25 2.40 9.6 ยะลา 33 11.22 34.0 นราธิวาส 32 12.75 39.84 รวม 315 42.87 13.61 15.5 หมายเหตุ ข้อมูลจาก ตร.ภ.9 และ ศชต.

38 ผลการดำเนินการตามหมายจับ
ภูมิภาค หมายจับ (หมาย) เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คิดเป็น ร้อยละ สงขลา 50 สตูล 6 ตรัง 15 พัทลุง 20 ปัตตานี 2 33.33 ยะลา 10 - นราธิวาส 7 1 14.28 รวม 114 26 22.81 23 หมายเหตุ เป้าหมายจับค้างเก่า ข้อหาครอบครองเพื่อจำหน่ายขึ้นไป ตั้งแต่ 12 ต.ค. 45 – 30 ก.ย. 55 ข้อมูลจาก ตร.ภ.9 และ ศชต.

39 แผนงานที่ 6 สรุป กิจกรรมหลักที่ทุกจังหวัดเริ่มดำเนินการไปบางแล้วคือ
ผลการดำเนินงาน สงขลา - พัทลุง ตั้งจุดตรวจ/สกัดตอนใน 6 จุด มีผลการปฏิบัติ 1 จุด (จุดตรวจโคกกอก) จับกุมผู้ต้องหา 1 คน ยาบ้า 1,977 เม็ด ตรัง สตูล 1. กำหนดจุดตรวจ/สกัด ตามแนวชายแดน 2 จุด :ยังไม่รายงานผลการจับกุม 2. กำหนดจุดตรวจ/สกัด ตอนใน 9 จุด : ยังไม่รายงานผลการจับกุม ปัตตานี ยะลา 1. ตั้งจุดตรวจ/สกัด อำเภอละ 1 แห่ง 2. กอ.รมน. ลาดตระเวน ตั้งด่านตรวจค้นในพื้นที่รับผิดชอบ 5 อำเภอ นราธิวาส ตั้งจุดตรวจ/สกัด ครบทั้ง 32 จุด : ยังไม่รายงานผลการจับกุม สรุป กิจกรรมหลักที่ทุกจังหวัดเริ่มดำเนินการไปบางแล้วคือ การตั้งจุดตรวจ/สกัด

40 แผนงานที่ 7 สรุป กิจกรรมหลักที่จังหวัดส่วนใหญ่ดำเนินการ คือ
ผลการดำเนินงาน สงขลา 1. จัดประชุม ศพส.จ. 2 ครั้ง 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ Internet (NISPA) พัทลุง 1. จัดประชุม ศพส.จ. 3 ครั้ง ตรัง 2. จัดประชุม โต๊ะข่าวเฝ้าระวัง 3 ครั้ง สตูล 2. จัดประชุม ศพส.อ. 21 ครั้ง ปัตตานี ยะลา 2. จัดประชุม โต๊ะข่าวเฝ้าระวัง 2 ครั้ง นราธิวาส - สรุป กิจกรรมหลักที่จังหวัดส่วนใหญ่ดำเนินการ คือ การประชุม ศพส.จ. และการประชุมโต๊ะข่าว

41 โครงการชุมชนอุ่นใจ จังหวัด ผลการดำเนินงาน นราธิวาส สงขลา พัทลุง ตรัง
มีการออกคำสั่งและจัดตั้งศูนย์แล้ว 2 อำเภอ คือ เทพา และนาทวี พัทลุง มีการออกคำสั่งและจัดตั้งศูนย์ครบทั้ง 11 อำเภอ โดยแต่ละศูนย์ได้ปฏิบัติการตาม ความพร้อมของศูนย์ ได้แก่ ชี้แจงชุมชน ทำประชาคม ปิดล้อมตรวจค้น ค้นหาผู้ เสพ อบรมให้ความรู้ ออกเยี่ยมเยียนประชาชน ตั้งจุดตรวจ สุ่มตรวจปัสสาวะ ตรัง มีการจัดทำแผนปฏิบัติการครบทั้ง 10 อำเภอ สตูล มีการรายงานผลความคืบหน้า 2 อำเภอ จาก 7 อำเภอ คือ 1. อ.เมือง : จัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานประจำศูนย์ฯ , จัดตั้งที่ทำการศูนย์ ที่ รพ.ชุมชนบ้านปาเต๊ะเหนือ ,ได้จัดอบรมชี้แจงผู้ปกครองและเยาวชน 1 ครั้ง 2. อ.ละงู แต่งตั้งคณะทำงาน ,จับกุมผู้ค้า, ค้นหาผู้เสพและอยู่ระหว่างรอจัดค่าย , จัดชุด ชรบ. ตั้งด่านตรวจหน้าศูนย์ ตั้งแต่เวลา น. ปัตตานี มีการออกคำสั่งแล้ว 10 อำเภอจาก 12 อำเภอ และในจำนวน 10 อำเภอมีการจัดตั้ง ศูนย์แล้ว 1 อำเภอ คือ อ.โคกโพธิ์ และมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว คือ จับกุมผู้ค้า 3 ราย ,จะมีการจัดค่ายบำบัดระหว่างวันที่7-21มกราคม2556(ปัจจุบันมีรายชื่อผู้เสะ16คน) ,มีการจัดกิจกรรมรณรงค์เยาวชนกลุ่มเสี่ยง10-15ปี,และเตรียมการการจัดฝึกอบรมอาชีพผู้ผ่านการบำบัด(ตามจำนวนกลุ่มผู้ผ่านการบำบัด) ยะลา มีการออกคำสั่งและจัดตั้งศูนย์แล้วทั้ง 6 อำเภอ โดยแต่ละศูนย์มีการปฏิบัติการตามความ พร้อมของศูนย์ ได้แก่ การสำรวจข้อมูล การปิดล้อมตรวจค้น ตั้งจุดตรวจสกัด การคัดกรองผู้ เสพและส่งบำบัด การให้ความรู้ เป็นต้น นราธิวาส มีการออกคำสั่งแล้ว 11 อำเภอจาก 13 อำเภอ ,มีการจัดตั้งศูนย์แล้ว 5 อำเภอ

42 สรุป ในช่วงไตรมาสที่ 1 ผลการดำเนินการต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ในแต่ละแผนงานอยู่ที่ประมาณร้อยละ ซึ่งยังถือว่าค่อนข้างน้อย ต่ำสุด ร้อยละ 0.5 คือ เป้าหมาย นักเรียน ป.5-ป.6 สูงสุด ร้อยละ 27.0 คือเป้าหมายหมู่บ้านดำเนินการครบ7 ขั้นตอน สำหรับเป้าหมายที่มีผลการดำเนินการอยู่ในเกณฑ์ต่ำ คือ เป้าหมาย หมู่บ้านชายแดนในแผน 1 (2%) เป้าหมาย การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดในแผน 2 (4%) เป้าหมาย การจับกุมคดียาเสพติดรายสำคัญและขยายผลในแผน 4 (6%) เป้าหมาย โรงเรียน ในแผน 3 (8%) เป้าหมาย หมู่บ้านรุนแรงในแผน 1 (9%) เป้าหมาย การตรวจสอบทรัพย์สิน (13%)

43 ผลงานแผนที่ 1 เรียงลำดับจากมากไปน้อย
หมู่บ้านดำเนินการครบ 7 ขั้นตอน ร้อยละ 27 เป้าหมายหมู่บ้านกองทุนแม่ ร้อยละ 19 เป้าหมายหมู่บ้านไม่มีปัญหา ร้อยละ 15 เป้าหมาย หมู่บ้านรุนแรง ร้อยละ 9 เป้าหมาย หมู่บ้านชายแดน ร้อยละ 2

44 ข้อเสนอแนะ จากผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 1
เร่งรัดดำเนินการในเป้าหมายที่ยังมีผลการดำเนินการต่ำ ศพส.จ. กำกับ ติดตามการนำเข้าข้อมูลในระบบรายงานผลของอำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากอาจมีผลการดำเนินงานจริงสูงกว่านี้ โดยมีเป้าหมายที่ต้องเร่งดำเนินการ ทั้งการปฏิบัติงานและการตรวจสอบว่ามีการปฏิบัติแต่ยังไม่มีการนำเข้า คือ เป้าหมายการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ นักเรียน ป.5-6


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ปัญหายาเสพติดภาคใต้ตอนล่าง ห้วงปี 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google