สถานการณ์ปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ 2551 1 – 30 เมษายน 2551 โดย ฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.ราชบุรี แก้ไขปัญหาที่คงเหลือ สถาปนาความมั่นคง สร้างความยั่งยืน
สถิติการจับกุมยาเสพติด เม.ย. 50 147 152 เม.ย. 51 321 323
ของกลางยาเสพติด เมษายน 2550 เมษายน 2551 ยาบ้า 3,061.75 เม็ด 2,323.00 เม็ด กัญชา 1 ถุง , 28.40 กรัม แห้ง 31.64 กรัม มาโซแลม - พืชกระท่อม 76 ใบ สาระเหย 1 กระป๋อง 4 กระป๋อง ยาไอซ์ 1.3 กรัม 0.6 กรัม
เปรียบเทียบสถิติการจับกุมยาเสพติด เมษายน 50 เมษายน 51 เปรียบเทียบ ลำดับ อำเภอ จับกุม คดี คน 1 เมืองราชบุรี 52 56 115 118 เพิ่ม 63 เพิ่ม 62 2 บ้านโป่ง 21 22 67 เพิ่ม 46 เพิ่ม 45 3 โพธาราม 31 55 เพิ่ม 24 4 ดำเนินสะดวก 19 37 เพิ่ม 18 5 ปากท่อ 9 26 25 เพิ่ม 17 เพิ่ม 16 6 จอมบึง 8 เพิ่ม 5 7 บางแพ เพิ่ม 2 สวนผึ้ง - วัดเพลง ลด 3 10 บ้านคา รวม 147 152 321 323 เพิ่ม 174 เพิ่ม 171
วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหายาเสพติด 1 ด้านการค้า 1.1 ผู้ค้าและเครือข่าย ผู้ค้า ยังคงเป็นผู้ค้ารายเก่าที่หยุดพฤติกรรมหลังจากการประกาศสงครามเอาชนะยาเสพติดเมื่อปี 2546 และกลุ่มเครือข่ายเป็นกลุ่มผู้เล่นวัวลานและเป็นกลุ่มเครือข่ายที่ติดต่อกับกลุ่มผู้ค้าในจังหวัดกาญจนบุรีและนครปฐม ผู้ค้ารายย่อย ซึ่งส่วนใหญ่เคยถูกจับกุมดำเนินคดีมาแล้ว มีทั้งพ้นโทษและอยู่ระหว่างดำเนินคดี (ประกันตัวออกมาระหว่างพิจารณาคดี) ซึ่งได้พัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบการค้า การส่งมอบยาบ้า โดยใช้หลากหลายวิธี เช่น ใช้เด็ก ผู้หญิง เป็นผู้ส่งยาบ้า
1. 2 พื้นที่แพร่ระบาดที่มีการระบาดอย่างรุนแรง - อ 1.2 พื้นที่แพร่ระบาดที่มีการระบาดอย่างรุนแรง - อ.เมือง หมู่ 7 ตำบลอ่างทอง - อ.โพธาราม หมู่ 9 ตำบลคลองตาคต - อ.บ้านโป่ง หมู่ 2 ตำบลท่าผา พื้นที่เฝ้าระวังเป็นพิเศษเพิ่มเติม อ.ดำเนินสะดวก ตำบลบ้านไร่ชาวเหนือถูกระบุว่าเป็นแหล่งพักยาเสพติด 1.3 เส้นทางการลำเลียงยา -เส้นทางหลักถนนเพชรเกษมสายเก่าและถนนธนบุรี-ปากท่อ -เส้นทางสายรอง ถนนสายด่านมะขามเตี้ย-ด่านทับตะโก/ บางแพ-ดำเนินฯ
2. ตัวสินค้า 2.1 ประเภทยาเสพติดเป็นยาบ้าอันดับหนึ่งโดยแยกที่มาดังนี้ อันดับแรกเป็นยาบ้าที่มาจากภาคเหนือ (G1) อันดับสองเป็นยาบ้าที่มาจากอำเภอสังขละบุรี (G24) -อันดับสามเป็นยาบ้าที่มาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( G23) และเริ่มมีการแพร่ระบาดของยาเสพติดชนิดใหม่คือ ยาไอซ์ / มีมาโซแลม และพืชกระท่อม 2.2 ราคาซื้อขาย ราคาเริ่มลดลงจาก 250 – 300 บาท เป็น 150 – 200 บาท
3. ผู้จำหน่าย และผู้ซื้อ-ผู้เสพ 3.1 กลุ่มผู้จำหน่าย -อยู่ระหว่างอายุ 26 – 30 ปี เป็นส่วนใหญ่ 3.2 กลุ่มผู้ซื้อ-ผู้เสพ -อันดับแรกเป็นกลุ่มอายุระหว่าง 19 – 25 ปี อันดับรองเป็นช่วงอายุ 14 – 18 ปี ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในกลุ่มอายุ 14 – 18 ปี
วิเคราะห์ข้อมูลด้านการบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว
วิเคราะห์ข้อมูลด้านการบำบัดแบบควบคุมตัว
สถานที่บำบัดแบบควบคุมตัว ผู้เสพ/ผู้ติดที่เข้าระบบบำบัดรักษาจำนวน 388 ราย เข้ารับการบำบัดแบบควบคุมตัวจำนวน 39 รายในสถานที่ดังนี้ ค่ายกองบิน 53 อำเภอเมือง จังหวัดประจวบ ค่ายธนะรัตช์ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบ โรงเรียนการบินนครปฐม อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ศูนย์นิวัฒนพลเมืองพล ร.9 (ทุ่งก้างย่าง)อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
เข้ารับการบำบัดในโครงการวิทยาลัยลูกผู้ชาย จำนวน 100 ราย ณ ค่ายศรีสุริยวงศ์ กองพลพัฒนาที่ 1 อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ที่เหลือจำนวน 249 ราย เข้ารับการบำบัดรักษาแบบไม่ควบคุมตัว - จากการสอบปากคำผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ ได้ข้อมูลดังนี้ เป็นบุคคลที่ถูกจับกุมดำเนินคดีในข้อหาเสพยาบ้าซ้ำเป็นจำนวน 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.05 เป็นเด็กและเยาวชนจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.43
วิเคราะห์สถานการณ์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน แนวโน้มเด็กและเยาวชน ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา มีพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงและมั่วสุมกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เช่น ไม่เข้าเรียน/มั่วสุมในร้านเกมส์อินเตอร์เนต และห้างสรรพสินค้า นักเรียน นักศึกษาในกลุ่มอาชีวศึกษา ได้มีการตรวจสุขภาพเพื่อตรวจหาสารเสพติดโดยบริษัทเอกชน เป็นมาตรการเฝ้าระวังดูแลนักเรียน นักศึกษาของกลุ่มอาชีวศึกษา ซึ่งไม่ได้ดำเนินการในกลุ่มนักเรียนในโรงเรียนสามัญทั่วไป
แนวทางการแก้ไขปัญหา จากปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดดังกล่าว ศตส.จ.ราชบุรี จะได้บูรณาการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สารวัตรนักเรียน/ครูฝ่ายปกครองของโรงเรียนต่างๆ/จนท.ตำรวจ/สมาชิก อส./จนท.วัฒนธรรม/จนท.พมจ.ราชบุรี/ฯลฯ เป็นชุดปฏิบัติการเพื่อป้องปรามและเฝ้าระวังนักเรียนกลุ่มเสี่ยงดังกล่าว ในช่วงเวลา 09.00-16.30 น.ของวันที่เปิดการเรียนการสอน ซึ่งมีกำหนดการนัดประชุมวางแผนดำเนินการในวันที่ 12 มิ.ย.2551
จบการนำเสนอ