มาตรฐานการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประสานงาน.
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ระดับหน่วยงาน แบบ ปย.1 แบบ ปอ.1 แบบ ปส. แบบ ปย.2 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการควบคุมภายใน โดย...นายธนรรชน พหลทัพ ผู้อำนวยการหน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24

มาตรฐานการควบคุมภายใน ที่ คตง.กำหนด 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล

มาตรฐานการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและ การสื่อสาร การติดตามประเมินผล

สภาพแวดล้อมของการควบคุม ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งเสริมองค์ประกอบการควบคุมภายในหรือ การควบคุมที่มีอยู่ให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เป็นเรื่องการสร้างความตระหนัก เน้นที่จิตสำนึกและให้ความสำคัญ กับคุณภาพของคน เช่น ความซื่อสัตย์และจริยธรรมในทุกระดับองค์กร การพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากร ปรัชญาและรูปแบบการบริหาร โครงสร้างองค์กรที่ดี

การประเมินความเสี่ยง เพื่อทราบความเสี่ยงในการดำเนินงานที่มีความเสี่ยงอะไร อยู่ในเรื่องใด ขั้นตอนใดของการปฏิบัติงาน ระดับความสำคัญและโอกาสที่เกิด ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ระบุปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมการควบคุม เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม วิธีการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดหรือออกแบบและนำมาใช้ในการ ปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม การกำหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน การแบ่งแยกหน้าที่ การอนุมัติ การดูแลป้องกันทรัพย์สิน

สารสนเทศและการสื่อสาร ลักษณะสารสนเทศที่ดี ที่องค์กรควรจัดให้มี เหมาะสมกับการใช้ ถูกต้อง สมบูรณ์ ทันเวลา น่าเชื่อถือ เป็นปัจจุบัน การจัดให้มีระบบการสื่อสารสองทาง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร

วัตถุประสงค์ / ความจำเป็นในการติดตามประเมินผล ระบบการควบคุมที่มีอยู่เพียงพอ สามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงหรือไม่ การปฏิบัติตามระบบได้ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์เป้าหมายหรือไม่ เพื่อให้มีการแก้ไขหรือปรับปรุงการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม ทันเวลาและสอดคล้องกับสถานการณ์

การติดตามประเมินผล (ต่อ) การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินผลเป็นรายครั้ง 1. การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) 2. การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment) การรายงานผลการประเมินและการสั่งการแก้ไข

การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) ลักษณะการประเมินที่ทำร่วมกัน ระหว่าง ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในสายงานนั้น

การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) - CSA เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ - มีหลายรูปแบบ เช่น แบบประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การออกแบบสอบถามและแบบสำรวจการควบคุมภายใน - อาจใช้หลายรูปแบบผสมกันตามที่เห็นสมควร

ข้อดีและข้อจำกัดของการประเมินผลการควบคุม การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) ข้อดี 1. มีความคุ้นเคยกับระบบงานเป็นอย่างดี 2. เข้าใจพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานและวัฒนธรรมของหน่วยงาน 3. มีความเป็นกันเอง 4. ยอมรับความเห็นหรือข้อเสนอแนะของการประเมินได้ง่าย 5. เสียค่าใช้จ่ายน้อย 6. เป็นการเสริมสร้างการเรียนรู้ 7. สามารถประเมินผลในส่วนของ Seft Controls ได้อย่างเต็มที่ ข้อจำกัด 1. เกิดความลำเอียงในการประเมินผล 2. อาจเกิดความขัดแย้ง ทำให้ไม่ยอมรับข้อบกพร่องหรือปัญหาหรืออุปสรรคที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน 3. ไม่ค่อยมีเวลาในการประเมินผลอย่างเต็มที่ 4. ขาดทักษะในการประเมินผลที่ดีหรือไม่มีประสบการณ์ในการประเมินผลเท่าที่ควร

ข้อดีและข้อจำกัดของการประเมินผลการควบคุม การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็นอิสระ ข้อดี ไม่มีความลำเอียงในการประเมินผล สามารถวิจารณ์ได้อย่างตรงไปตรงมา ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือส่วนได้ส่วนเสียกับหน่วยงาน มีเวลาดำเนินการประเมินผลอย่างเต็มที่ มีความชำนาญและประสบการณ์ในการประเมินผลเป็นอย่างดี ข้อจำกัด ต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจระบบงานที่นำมาประเมินผล อาจไม่ได้รับข้อมูลที่แท้จริงในการนำมาประเมินผล เสียค่าใช้จ่ายมาก อาจเกิดการไม่ยอมรับผลที่ได้รับ ไม่สามารถประเมินผลในส่วนของ Seft Controls ได้อย่างเต็มที่