วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โรงเรียนวัดสิตาราม สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Central Processing Unit
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
1.
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
คอมพิวเตอร์.
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
HARDWA RE อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน ที่ประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์.
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
“หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์"
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ วิชา 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง หลักการทำงาน และ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

จุดประสงค์ อธิบายองค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ได้ สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับองค์ระกอบของคอมพิวเตอร์ได้ จำแนกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามหลักการทำงานได้ มีความสามัคคี รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

หัวข้อที่จะเรียนในวันนี้ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. แสดงผลข้อมูล (Output) 1.รับข้อมูล และคำสั่ง (Input) 2. ประมวลผลข้อมูล (Process) สารสนเทศ รับข้อมูล 3. จัดเก็บข้อมูล (Storage) ข้อมูล/สารสนเทศ

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ Input Unit CPU Main Memory Unit Secondary Output Unit

1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำการประมวลผลต่อไป

ตัวอย่างอุปกรณ์หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เปรียบเสมือนสมองหรือหัวใจหลักของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ 2.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) 2.2 หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit)

2.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่อ่านคำสั่งทีละคำสั่ง และตีความว่าเป็นคำสั่งใด ใช้ข้อมูลจากที่ไหน ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดแลประสานงานระหว่างหน่วยต่างๆในระบบคอมพิวเตอร์

2.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) สมอง ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ รับข้อมูล - ควบคุมอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 - ควบคุมการเก็บและนำเข้าข้อมูลจากหน่วยความจำมาใช้ - จดจำและระลึกเรื่องราวต่างๆ - ควบคุมการทำงานของหน่วยความจำและตรรกะ - วิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา และตัดสินใจ - ควบคุมการทำงานของหน่วยแสดงผลโดยการพิมพ์หรือบันทึกผล - ควบคุมการแสดงออกโดยการพูดหรือเขียน

2.2 หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit) เช่น การคำนวณทางคณิตศาสตร์  ได้แก่  การบวก ลบ คูณ หาร การเปรียบเทียบ  เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่าเท่ากัน  มากกว่า  หรือน้อย กว่า  ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษรก็สามารถเปรียบเทียบได้

3. หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูง และจำเป็นต้องมีในเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้ หน้าที่ของหน่วยความจำหลักในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลก่อนนำไปประมวลผล เก็บคำสั่งของโปรแกรมขณะใช้งาน และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก่อนที่จะนำไปแสดงผล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 3.1 รอม (ROM : Read Only Memory)  3.2 แรม (RAM : Random Access Memory)

3.1 รอม (ROM : Read Only Memory) หน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ ใช้เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่งเฉพาะ ข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่สามารถทำให้ข้อมูลหรือคำสั่งในการทำงานต่างๆหายไปได้ นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า nonvolatile memory มีหลายชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น

3.2 แรม (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจำที่จดจำข้อมูลคำสั่งในระหว่างที่ระบบกำลังทำงานอยู่ สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา หากไฟดับหรือมีการปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำนี้จะถูกลบเลือนหายไปหมด นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า volatile memory มีหลายชนิดเช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM

4. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit) ใช้สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภายหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ในอนาคต) มีหลายชนิดมาก เช่น

5.หน่วยแสดงผล (Output Unit) แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ หรืออยู่ในรูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครื่องพิมพ์

สรุป

สรุป

คำถาม ?