ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
Advertisements

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ความหมายและกระบวนการ
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
การ Reaccredit มาตรฐานงานสุขศึกษา
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นางภัสธิยะกุล ชาวกะมุด นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (น้ำหนัก 1.0)

ผลการดำเนินงาน ปี 2554 คปสอ.ขนาดใหญ่ รพ.อุดรธานี ระดับ 5 รพ.หนองหาน ระดับ 4 รพร.บ้านดุง ระดับ 4 รพ.บ้านผือ ระดับ 3 รพ.กุมภวาปี ระดับ 3 รพ.เพ็ญ ระดับ 3 คปสอ.ขนาดกลาง รพ.หนองวัวซอ ระดับ 5 รพ.ศรีธาตุ ระดับ 5 รพ.โนนสะอาด ระดับ 4 รพ.น้ำโสม ระดับ 2 รพ.วังสามหมอ ระดับ 2 รพ.กุดจับ ระดับ 2

ผลการดำเนินงาน ปี 2554 คปสอ.ขนาดเล็ก รพ.หนองแสง ระดับ 3 รพ.ทุ่งฝน ระดับ 2 รพร.นายูง ระดับ 2 รพ.สร้างคอม ระดับ 2 รพ.ไชยวาน ระดับ 2 รพ.พิบูลย์รักษ์ ระดับ 2

เป้าหมาย ปี 2555 คปสอ.ขนาดใหญ่ รพ.ทุกแห่งได้รับการประเมินยกระดับเป็นระดับ 5 ครบทุกแห่ง (โดยสำนักโรคจากการประกอบอาชีพ กระทรวงสาธารณสุข) คปสอ.ขนาดกลาง รพ.โนนสะอาด ยกระดับเป็นระดับ 5 รพ.น้ำโสม และ รพ.วังสามหมอ รพ.กุดจับ ยกระดับ เป็นระดับ 4 คปสอ.ขนาดเล็ก รพ.หนองแสง ยกระดับเป็นระดับ 5 รพ. 5 แห่ง ยกระดับเป็นระดับ 3 - 4

ใช้เกณฑ์การประเมิน ปี 2554 (เล่มสีเขียว) อ้างอิงคู่มือจาก สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กรทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับ 1-5 ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 10 ข้อใหญ่ 34 ข้อย่อย

วิธีการประเมิน Paper จากเอกสาร หลักฐานต่างๆ Participation จากการซักถามข้อมูลเพิ่มเติมจาก ผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง Practice จากการเดินสำรวจในพื้นที่ ปฏิบัติงานและซักถามบุคลากร

หน่วยงานรับผิดชอบการประเมินฯ ระดับ 1 – 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ระดับ 3 – 4 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น ระดับ 5 สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ การขอรับการประเมินระดับ 5 ต้องจัดเตรียมเอกสาร และ จัดการความเสี่ยงภายในโรงพยาบาลให้เสร็จสิ้นก่อน ถึงจักแสดงความจำนงต่อ สคร. 6 ขอนแก่น ก่อนเดือนมีนาคม 2555 เพื่อขอคิวรับการประเมินกับ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ฯ

เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ 1. การบริหารจัดการ 2. การดำเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง 3. การติดตามประเมินผล

เกณฑ์การประเมินการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ จำนวนข้อ จำนวนข้อ

ระดับความสำเร็จ ระดับ 1 ระดับพอใช้ มีพื้นฐาน นโยบาย ทีมงาน แผนการดำเนินงาน ตรวจสุขภาพทั่วไป ระดับ 2 ระดับเริ่มมีการแก้ไขปรับปรุง มีการดำเนินการสำรวจความเสี่ยงด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ระดับ 3 ระดับมีแนวโน้มที่ดีในกิจกรรมสำคัญ มีการทำงานที่เป็นระบบ ใช้หลักให้ความสำคัญกับการสื่อสารเพื่อความเข้าใจและจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ระดับ 4 ระดับมีผลลัพธ์ที่ดีในทุกกิจกรรมที่สำคัญ มีแผนและระบบควบคุมและแก้ไขความเสี่ยงที่ดี ระดับ 5 ระดับมีการดำเนินงานผลลัพธ์ดีมาก มีแผนและระบบควบคุมและแก้ไขความเสี่ยงที่ดี ตลอดจนปรับปรุง / พัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป

ขอขอบคุณ