การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สำนักโรคติดต่อทั่วไป

ระบบการบริหารและการกระจายวัคซีนในปัจจุบัน วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ สนามบิน สำนักโรคติดต่อทั่วไป วัคซีนผลิตในประเทศ (GPO, TRCS) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สถานบริการ โรงพยาบาลชุมชน/สสอ.

ปัญหาในระบบการบริหารและการกระจายวัคซีนในปัจจุบัน บุคลากร อุปกรณ์ การบริหารจัดการ บุคลากรมีจำนวนลดลง หน้าที่ไม่ตรงกับความเชี่ยวชาญ มีหน้าที่รับผิดชอบอื่น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ cold chain มีอายุการใช้งานนาน ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาสูง การกระจายใช้เวลานานทำให้อายุการใช้งานของวัคซีนเหลือน้อย อัตราสูญเสียวัคซีนมีมาก ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นลดลง

ระบบรายงาน (เดิม) ผลการให้บริการวัคซีน (ผลการปฏิบัติงาน)  รายงาน EPI 1  รายงาน EPI 3 ผลความครอบคลุม  รายงานผลความครอบคลุมการได้รับวัคซีน EPI 2;3

ปัญหาของระบบรายงานปัจจุบัน เป็น summary report ตรวจสอบได้ยาก เป็นรายงานเฉพาะ เพิ่มงานเจ้าหน้าที่ รายงานไม่ถูกต้อง ไม่สามารถหาฐานประชากรกลุ่มเป้าหมายได้ครบถ้วน ไม่สามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายที่รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น สถานบริการบางแห่งไม่รายงานแต่มีรายงานส่งมายังส่วนกลาง

จากปัญหาที่พบในปัจจุบัน จึงเป็นที่มาของ “โครงการพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค”

พื้นที่นำร่องโครงการฯ สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ชัยนาท ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร นครปฐม ขยายการดำเนินงานภายในปี 2552 อีก 10 จังหวัด ขยายการดำเนินงานทั่วประเทศใน 2 ปี 7

แนวทางในการพัฒนาระบบกระจายวัคซีน ส่งวัคซีนตรงสู่คลังอำเภอ (VMI ของ องค์การเภสัชฯ) เพื่อลดระยะเวลาการขนส่ง เพิ่มอายุวัคซีนเมื่อถึงสถานบริการ ปรับผู้รับผิดชอบคลังอำเภอ เป็นเภสัชกร ซึ่งมีความเชี่ยวชาญตามวิชาชีพ สนับสนุนงบประมาณบางส่วนในการปรับเปลี่ยนระบบ การเบิกจ่ายวัคซีนในอำเภอ ให้ สสอ. เป็นผู้เชื่อมประสาน

การกระจายวัคซีนแบบ VMI. VS DDC. VMI/GPO DDC. ค่าใช้จ่าย ค่าจ้างจัดส่ง ~ 45 ล้านบาท ปรับปรุงคลังอำเภอ ลด Stock/ Inventory cost รพ. ได้รับยาที่ผลิตใหม่ ลดการสูญเสียวัคซีน มีวัคซีนใช้เพียงพอตลอดเวลา การบริหารจัดการวัคซีน บุคลากร เภสัชกร มีความเชี่ยวชาญ ค่าใช้จ่าย ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ ค่าบำรุงรักษาอุปกรณ์/ขนส่ง ~ 10 ล้านบาท เงินเดือนลูกจ้าง ~ 10 ล้านบาท บุคลากร เป็นนักวิชาการทั่วไป ลูกจ้างประจำ การบริหารจัดการวัคซีน การกระจายวัคซีนใช้เวลานาน อายุ การใช้งานเหลือน้อย (< 3 เดือน) วัคซีนในคลังมีมากเกินไป/ไม่เพียงพอ

การกระจายวัคซีนด้วยระบบ VMI วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ สนามบิน วัคซีนผลิตในประเทศ (GPO, TRCS) องค์การเภสัชกรรม จัดส่งทุกเดือน โรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP) เบิก-รับวัคซีนทุกเดือน สถานบริการเครือข่าย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ลดความซ้ำซ้อนของการปฏิบัติงานทุกระดับ ไม่มีรายงานซ้ำซ้อน ไม่มีงานบริหารคลังวัคซีนใน สสจ. สสอ. เวชกรรมฯ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารวัคซีนโดยเภสัชกร

แนวทางการพัฒนาระบบการรายงานผลการปฏิบัติงาน ใช้ฐานข้อมูลรายบุคคลในการรายงานผลการดำเนินงาน ใช้โครงสร้างรายงาน 18 แฟ้ม ที่ใช้อยู่แล้วทั่วประเทศ ยกเลิกการรายงานเฉพาะของงาน EPI แต่ยังคง รายงานผลความครอบคลุมการได้รับวัคซีน EPI 2 ไว้ ใช้ควบคุมโรค

แจ้งเพื่อทราบ “โครงการพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค” กำหนดการประชุม 28-29 กค52 ที่ รร. เจริญศรีแกรนด์ (ส่วนกลางเป็นผู้จัด ) ผู้เข้าร่วมประชุม เภสัชกร จาก สสจ./รพ. จนท EPI จาก สสจ./รพ./สสอ.

การบ้าน เภสัชกร ข้อมูลผู้รับผิดชอบ VMI จนท.EPI 1. รายงาน จนท. 1. รายงาน จนท. 2 VMI จนท

ส่งการบ้าน วันที่ 5 กค 52 พร้อมแจ้งชื่อผู้เข้าประชุม

สวัสดี