การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สำนักโรคติดต่อทั่วไป
ระบบการบริหารและการกระจายวัคซีนในปัจจุบัน วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ สนามบิน สำนักโรคติดต่อทั่วไป วัคซีนผลิตในประเทศ (GPO, TRCS) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สถานบริการ โรงพยาบาลชุมชน/สสอ.
ปัญหาในระบบการบริหารและการกระจายวัคซีนในปัจจุบัน บุคลากร อุปกรณ์ การบริหารจัดการ บุคลากรมีจำนวนลดลง หน้าที่ไม่ตรงกับความเชี่ยวชาญ มีหน้าที่รับผิดชอบอื่น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ cold chain มีอายุการใช้งานนาน ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาสูง การกระจายใช้เวลานานทำให้อายุการใช้งานของวัคซีนเหลือน้อย อัตราสูญเสียวัคซีนมีมาก ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นลดลง
ระบบรายงาน (เดิม) ผลการให้บริการวัคซีน (ผลการปฏิบัติงาน) รายงาน EPI 1 รายงาน EPI 3 ผลความครอบคลุม รายงานผลความครอบคลุมการได้รับวัคซีน EPI 2;3
ปัญหาของระบบรายงานปัจจุบัน เป็น summary report ตรวจสอบได้ยาก เป็นรายงานเฉพาะ เพิ่มงานเจ้าหน้าที่ รายงานไม่ถูกต้อง ไม่สามารถหาฐานประชากรกลุ่มเป้าหมายได้ครบถ้วน ไม่สามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายที่รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น สถานบริการบางแห่งไม่รายงานแต่มีรายงานส่งมายังส่วนกลาง
จากปัญหาที่พบในปัจจุบัน จึงเป็นที่มาของ “โครงการพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค”
พื้นที่นำร่องโครงการฯ สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ชัยนาท ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร นครปฐม ขยายการดำเนินงานภายในปี 2552 อีก 10 จังหวัด ขยายการดำเนินงานทั่วประเทศใน 2 ปี 7
แนวทางในการพัฒนาระบบกระจายวัคซีน ส่งวัคซีนตรงสู่คลังอำเภอ (VMI ของ องค์การเภสัชฯ) เพื่อลดระยะเวลาการขนส่ง เพิ่มอายุวัคซีนเมื่อถึงสถานบริการ ปรับผู้รับผิดชอบคลังอำเภอ เป็นเภสัชกร ซึ่งมีความเชี่ยวชาญตามวิชาชีพ สนับสนุนงบประมาณบางส่วนในการปรับเปลี่ยนระบบ การเบิกจ่ายวัคซีนในอำเภอ ให้ สสอ. เป็นผู้เชื่อมประสาน
การกระจายวัคซีนแบบ VMI. VS DDC. VMI/GPO DDC. ค่าใช้จ่าย ค่าจ้างจัดส่ง ~ 45 ล้านบาท ปรับปรุงคลังอำเภอ ลด Stock/ Inventory cost รพ. ได้รับยาที่ผลิตใหม่ ลดการสูญเสียวัคซีน มีวัคซีนใช้เพียงพอตลอดเวลา การบริหารจัดการวัคซีน บุคลากร เภสัชกร มีความเชี่ยวชาญ ค่าใช้จ่าย ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ ค่าบำรุงรักษาอุปกรณ์/ขนส่ง ~ 10 ล้านบาท เงินเดือนลูกจ้าง ~ 10 ล้านบาท บุคลากร เป็นนักวิชาการทั่วไป ลูกจ้างประจำ การบริหารจัดการวัคซีน การกระจายวัคซีนใช้เวลานาน อายุ การใช้งานเหลือน้อย (< 3 เดือน) วัคซีนในคลังมีมากเกินไป/ไม่เพียงพอ
การกระจายวัคซีนด้วยระบบ VMI วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ สนามบิน วัคซีนผลิตในประเทศ (GPO, TRCS) องค์การเภสัชกรรม จัดส่งทุกเดือน โรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP) เบิก-รับวัคซีนทุกเดือน สถานบริการเครือข่าย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ลดความซ้ำซ้อนของการปฏิบัติงานทุกระดับ ไม่มีรายงานซ้ำซ้อน ไม่มีงานบริหารคลังวัคซีนใน สสจ. สสอ. เวชกรรมฯ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารวัคซีนโดยเภสัชกร
แนวทางการพัฒนาระบบการรายงานผลการปฏิบัติงาน ใช้ฐานข้อมูลรายบุคคลในการรายงานผลการดำเนินงาน ใช้โครงสร้างรายงาน 18 แฟ้ม ที่ใช้อยู่แล้วทั่วประเทศ ยกเลิกการรายงานเฉพาะของงาน EPI แต่ยังคง รายงานผลความครอบคลุมการได้รับวัคซีน EPI 2 ไว้ ใช้ควบคุมโรค
แจ้งเพื่อทราบ “โครงการพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค” กำหนดการประชุม 28-29 กค52 ที่ รร. เจริญศรีแกรนด์ (ส่วนกลางเป็นผู้จัด ) ผู้เข้าร่วมประชุม เภสัชกร จาก สสจ./รพ. จนท EPI จาก สสจ./รพ./สสอ.
การบ้าน เภสัชกร ข้อมูลผู้รับผิดชอบ VMI จนท.EPI 1. รายงาน จนท. 1. รายงาน จนท. 2 VMI จนท
ส่งการบ้าน วันที่ 5 กค 52 พร้อมแจ้งชื่อผู้เข้าประชุม
สวัสดี