ความสัมพันธ์ (Relationship)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
Distributed Administration
3. ข้อสอบที่ตัวลวงไม่มีประสิทธิภาพ คือ เห็นได้ชัดว่าตัวลวงผิด
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
ตัวอย่างการสร้าง Class Diagram
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กนกอร บุญกล่อม อัจฉรา ศรีหิรัญเดช
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
PowerPoint Template
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
รูปที่ 1 เครือข่ายย่อยที่แบ่งแยกกันด้วยเราเตอร์
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ประโยชน์และโทษของการใช้งานคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบควบคุมการใช้งาน Internet ในองค์กร
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
ข้อดีของฐานข้อมูล 1. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจมีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้
SCC : Suthida Chaichomchuen
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 2 Database systems Architecture
What’s P2P.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
การแปลง E-R เป็น Table.
ประวัติความเป็นมาของฐานข้อมูลและยกตัวอย่างโปรแกรมในการจัดการฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
Entity Relationship Model
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
นำเสนอโดย นายวันชัย แซ่ลิ่ม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการพัฒนาฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองสภาวะฟันตกกระ ปัญหาสุขภาพ พฤติกรรมการบริโภคน้ำ การรับประทานอาหาร และการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนและผู้สูงอายุ
ระบบงานคอมพิวเตอร์บนเว็บ
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
โปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
RADIUS โดย เสนอ นางสาวนิตยา แก้วหล่อ
ง30219 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสัมพันธ์ (Relationship)

Access สามารถช่วยเราทําอะไรได้บ้าง 1. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูลใช้งานต่าง ๆ ได้ง่าย เช่น โปรแกรมบัญชีรายรับ รายจ่าย, โปรแกรมควบคุมสินค้า, โปรแกรมฐานข้อมูลอื่น ๆ 2. สามารถสร้างรายงานเพื่อแสดงข้อมูลที่ต้องการ ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ 3. สามารถสร้างระบบฐานข้อมูล เพื่อนําไปใช้ร่วมกับฐานข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยง่าย เช่น SQL SERVER 4. สามารถนําเสนอข้อมูลออกสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

งานที่เหมาะจะใช้ฐานข้อมูล

องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตารางฐานข้อมูล

องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตารางฐานข้อมูล

องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตารางฐานข้อมูล

องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตารางฐานข้อมูล

องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของตารางฐานข้อมูล

สร้างตารางฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007 1). สร้างจากฐานข้อมูลใหม่ (New Blank Database) 2). สร้างจากฐานข้อมูลแม่แบบ (Template Categories)

สร้างตารางฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007 1). สร้างจากฐานข้อมูลใหม่ (New Blank Database)

สร้างตารางฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007 2). สร้างจากฐานข้อมูลแม่แบบ (Template Categories)

ความสัมพันธ์ (Relationship) ความสัมพันธ์ (Relationships)หมายถึง  ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้  เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้นักศึกษา  และเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า  นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่ง  เป็นต้น

ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationship) 1.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  (One-to-One)   2.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)  3.  ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many)

1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง 1.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  (One-to-One)  เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง  ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง

2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม 2.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลาย  ๆ  ข้อมูลในอีกเอทิตี้หนึ่ง  เช่น

3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม

แบบฝึกหัด 1. จงยกตัวอย่างความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One) มา 3 ตัวอย่าง พร้อมอธิบาย 2.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many) มา 3 ตัวอย่าง พร้อมอธิบาย 3.  ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many) มา 3 ตัวอย่าง พร้อมอธิบาย