โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
นำเสนอต่อ ผู้บริหารของกรมสุขภาพจิต
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
How to write impressive SAR
Impressive SAR.
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
Analyzing The Business Case
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 1-6 :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :

กำหนดการ 29 มิถุนายน 2549 0900 – 0930 บรรยายการบริหารโครงการการเขียนเอกสารรายงานเบื้องต้น 0930 – 1700 เขียนลักษณะสำคัญขององค์กรให้แล้วเสร็จ 30 มิถุนายน 2549 0900 – 1700 นำเสนอ และสรุปลักษณะสำคัญขององค์กร

ประเด็นนำเสนอ ทบทวนขั้นตอนในการดำเนินโครงการ บรรยายโครงสร้างรายงาน ขั้นตอน และการจัดตั้งทีมงาน เพื่อเขียนลักษณะสำคัญ Workshop (แบ่งกลุ่มตามทีม Champion ให้กรอก Template OP ในส่วนที่เกี่ยวข้อง และทำ Consensus ในวันที่ 2 ซึ่งต้องการผู้ใหญ่ของหน่วยงานหรือจังหวัดเป็นผู้ตัดสินใจในกรณีที่ความคิดเห็นของคณะทำงานไม่สามารถสรุปได้) ให้การบ้าน เตรียมข้อมูลเพื่อเขียน หมวด 1-6

Output ที่ต้องการจาก Workshop 2-3 กรอก Template และเขียนบรรยายลักษณะสำคัญขององค์กรให้เสร็จ คณะทำงานเตรียมข้อมูลสำหรับเขียนรายงานหมวด 1-6

ภาพรวมขั้นตอนการดำเนินโครงการ การเขียนเอกสารรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้น (First Draft Application Report) W 1-6 ประเมินเนื้อหาในเอกสารรายงานเนื้อหาวิธีการดำเนินการเบื้องต้น (Mock Assessment) W 7-8 รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง จัดลำดับความสำคัญโอกาสในการปรัปปรุง ตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างหมวด และเพิ่มเติมข้อมูลที่ขาดหายไป W 9-10 เอกสารรายงานเนื้อผลการดำเนินการ (Application Report) จัดทำแผนการปรับปรุง W 11-12 นำเสนอ Steering Committee

การจัดทำรายงาน Application Report Preparation

รายงาน (Application Report) คืออะไร เอกสารที่สะท้อนให้เห็นระบบบริหารจัดการโดยรวมและผลการดำเนินการของส่วนราชการ (โดยใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ)

ความสำคัญของรายงาน เป็นเอกสารที่ส่วนราชการสามารถใช้ในการปรับปรุงส่วนราชการได้ สำหรับในอนาคตจะเป็นเอกสารที่ผู้ตรวจประเมินใช้ในการพิจารณาเพื่อการขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

เนื้อหา ถูกต้อง สะท้อนระบบจริงในส่วนราชการ ตอบคำถามอย่างครบถ้วนโดยอิงแนวเกณฑ์การให้คะแนน

การเขียนรายงานที่ดีต้อง…. มีความมุ่งมั่น ความเป็นเจ้าของร่วมกัน รวมทั้งเข้าใจและเห็นประโยชน์ของรายงาน มีความเข้าใจในข้อกำหนดของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารจัดการของส่วนราชการ เขียนเป็น / นำเสนอเป็น มีระบบบริหารจัดการที่ดี (ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ)

เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร แก้ไข/เพิ่มเติม เนื้อหา แก้ไข/เพิ่มเติม เนื้อหา เขียนรายงานหมวด 1-6 Self Assessment ผลการดำเนินการ? No GAP ? ทำ Action Plan เพื่อปรับปรุงระบบ Yes ปรับปรุงระบบ Performance Excellence

ขั้นตอนการจัดทำรายงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลองประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและรายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล 1. วางแผนโครงการ จัดตั้งทีมงาน โครงสร้างและบทบาทของทีมงาน จัดทำแผนปฏิบัติงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลอง ประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและ รายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่างๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร? Team รับผิดชอบเกณฑ์ A หมวด 1 การนำองค์กร B หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล C หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ D หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ALL หมวด 7 ผลลัพธ์ทางธุรกิจ

ทีม ผู้นำระดับสูง หรือ ผู้มีพลัง (หนุ่มสาว) คนรู้ภาพรวม+ คนรู้เนื้องาน บริบท คนรู้ภาพรวม+ คนรู้เนื้องาน องค์ประกอบ คนรู้เกณฑ์

จะจัดตั้งทีมงานอย่างไร? ผู้นำสูงสุด ผู้ประสานงานหลัก หัวข้อ 1+7.6 หัวข้อ 2+7.3 หัวข้อ 3+7.2 หัวข้อ 4+7.1 หัวข้อ 5+7.4 หัวข้อ 6+7.5 หัวข้อ 7 ทีม ทีม ทีม ทีม ทีม ทีม ทีม SSM Health Care

แผนปฏิบัติการการจัดทำรายงาน กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ/เวลาที่ใช้ ระยะเวลา 1. การวางแผนโครงการ 1.1 ปะชุมเตรียมโครงการ 1.2 จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. เก็บข้อมูล 2.1…………. 3. จัดทำร่างรายงานฉบับที่ 1 4. ทบทวนร่างฉบับที่ 1 5. ทดลองประเมินผล รวบรวมและวิเคราะห์ 6. ผลการประเมิน 6.1……………….. 7. จัดทำร่างรายงานฉบับที่ 2 8. ………………… 9. ……………………..

และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล 2. รวบรวมข้อมูล 1. วางแผนโครงการ ยากและใช้เวลามากที่สุด ต้องการความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทุกระดับ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลอง ประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและ รายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่างๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล 3. จัดทำร่างรายงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล ผู้จัดการโครงการรวบรวมและทบทวนรายงานจากทีมงาน ทีมงานปรับปรุงรายงาน Edit จัดทำภาพและพิมพ์ 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลอง ประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและ รายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่างๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

4. ทบทวนร่างและทดลองประเมินร่างรายงาน 1. วางแผนโครงการ 2. รวบรวมข้อมูล ทดลองประเมินรายงาน โดย คณะกรรมการ ผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญ ทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการ ผู้จัดการโครงการ รวบรวมผลการประเมินให้ทีมงาน 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลอง ประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและ รายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่างๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 1. วางแผนโครงการ ทีมงานปรับปรุงรายงาน ผู้จัดการโครงการทบทวนรายงาน ที่ปรับปรุงแล้ว จัดทำร่างรายงานฉบับสุดท้าย Edit ทำรูปภาพ กราฟ 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทำร่างรายงาน 4. ทบทวนร่างและทดลอง ประเมินร่างรายงาน 5. ปรับปรุงร่างรายงาน 6. จัดทำข้อมูลและ รายงานฉบับจริง 7. กรอกแบบฟอร์มต่างๆ และส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร ทำ Action Plan เพื่อปรับปรุงระบบ แก้ไข/เพิ่มเติม เนื้อหา เขียนรายงานหมวด 1-6 No GAP ? Self Assessment Yes ทำ Action Plan เพื่อปรับปรุงระบบ แก้ไข/เพิ่มเติม เนื้อหา ผลการดำเนินการ? ปรับปรุงระบบ Performance Excellence

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ บทบาทหน้าที่ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ลักษณะโดยรวมของ บุคคลากร เทคโนโลยีและ อุปกรณ์ แนวทางการ ปรับปรุงผล การดำเนินการ เรียนรู้ขององค์กร การกำกับดูแลตนเอง ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย สภาพการแข่งขัน ภายในและภายนอก ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ ความสำเร็จ ข้อมูลการเปรียบเทียบ ความท้าทายตาม ภารกิจ ความท้าทายด้าน ทรัพยากรบุคคล

ความสำคัญของลักษณะสำคัญขององค์กร ทำให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการเห็นว่ามีความสำคัญ ช่วยในการระบุข้อมูลสำคัญที่อาจขาดหายไป และทำให้เกิดการมุ่งเน้นที่ผลสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์การดำเนินการ เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง และช่วยในการเขียนรายงานวิธีการและผลการดำเนินการ หากพบว่าเรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอ หรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการสามารถนำเรื่องนั้นไปจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง

การเขียนลักษณะสำคัญขององค์กร ต้องชัดเจนในทุกประเด็น (อะไรสำคัญต่อส่วนราชการ, วิธีการดำเนินการ, ผู้มารับบริการ, อนาคตของส่วนราชการ) ต้องเชื่อมโยงกับเกณฑ์ทุกข้อ

ความเชื่อมโยงระหว่างลักษณะสำคัญขององค์กรกับเกณฑ์ทั้ง 7 หมวด   1 2 3 4 5 6 7 7.1 7.2 7.3 7.4 1. ลักษณะองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ  ข. ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

สรุป เข้าใจคำถาม มีเนื้อหา เขียนเป็น (Correct, Complete, Clear, Concise)

ลักษณะสำคัญขององค์กร ถาม-ตอบข้อสงสัย