DBS MIS ลักษณะการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การใช้เวลาบริหารจัดการระบบสารสนเทศขององค์กรอัจฉริยะ ด้วยระบบ SDLC
ENTITY มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors.
พัฒนาการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ ??? โดยการบริหารการพัฒนาโครงการ
MIS: Pichai Takkabutr EAU การเติบโตของ ICT ส่งผลกระทบต่อ Organizational SECTORS 3 Sectors World Economy :- Real Sectors :- Hard Goods VS. Upstream.
ความสำคัญปัญหาองค์ประกอบ M-I-S M-I-Sสนใจเรื่องอะไร สรรพสิ่ง ENTITIES Context อะไร.
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
MIS: Pichai Takkabutr EAU นิยาม ความหมายการบริหาร การจัดการ การบริหาร การจัดการที่ดี (Good Governance) BACK การอยู่ร่วมกัน ต้องมีการจัดระเบียบและระบบสังคม(Code.
Application ICT Infrastructure
MIS จะเกิดได้ต้องมี SUPPLY ฐานข้อมูล ฐานองค์ความรู้ก่อน ?
นโยบายเร่งรัดการส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
Evaluation of Thailand Master Plan
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
EAU-MIS T. Pichai สรรพสิ่ง (Entity) สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ,Environment มี กฎเกณฑ์ องค์ประกอบ และการอยู่ร่วมกัน ของมันเอง กฎเกณฑ์มีอย่างน้อยดังนี้ 1.มี
S: Systems (MIS Approach)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DBS MIS ลักษณะการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ MIS VS. DBS ” Not for school, but for life ” Data Management Center บริหารจัดการข้อมูลกลาง MIS Central Data Collecting Selection รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน เชื่อมโยงกันมาบูรณาการ DBS Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 1

การกำหนดโครงสร้างและขนาดของระบบข้อมูล องค์กรใช้เทคโนโลยี ICT Sectors บริหารระบบงานองค์กรที่เป็นอยู่ (Real Sector) ได้อย่างไร ICT Sectors คือ HW/SW/Network, Information Infrastructure ขององค์กร Real Sectors คือระบบงานหรือกระบวนการทำงานขององค์กร (Business Process Systems: BPS) และทรัพยากรข้อมูล (Data) 1. REAL SECTORS: Business, Information 3. VIRTUAL SECTORS: Application เชื่อมโยงด้วย OSI-ICT Layers 2. ICT SECTORS: Technology (Socio-cultural Innovation) โครงสร้างองค์กรสมัยใหม่ Enterprise Architecture (EA) Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 2

การใช้เวลาบริหารจัดการระบบสารสนเทศขององค์กรอัจฉริยะ ด้วยระบบ SDLC การกำหนดโครงสร้างและขนาดของระบบข้อมูล เวลาที่ใช้ในเรื่องการจัดการอะไร การใช้เวลา 3 การแก้ไข คาดการณ์ 15% ปัญหา SWOTติดตามประเมินสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมเพื่อตั้งเป็นวัตถุประสงค์องค์กร Software Project / Risk Management ขอบเขตการบริหารจัดการ = เวลา + ทรัพยากร การใช้เวลา 1การคิด 75% จัดการวางแผน ยุทธศาสตร์ Systems Analysis and Design การใช้เวลา 2 การทำงาน 10% นำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ: จัดทำเป็นยุทธ วิธีลงสู่ปฏิบัติ Software Engineering การใช้เวลาบริหารจัดการระบบสารสนเทศขององค์กรอัจฉริยะ ด้วยระบบ SDLC การใช้ทรัพยากรเทคโนโลยี HW/SW/Network เพื่อบริหารจัดการ ทรัพยากรข้อมูล ได้ อย่างไร Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 3

Information Management การกำหนดโครงสร้างและขนาดของระบบข้อมูล Information Management Data Entry/Storage Data Control/Security Data Retrieval/Search การบริหารจัดการทรัพยากร สารสนเทศขององค์กร ISAM DAM SAM queue stack linked list Heap Dictionary tree File Organization/ Architecture DW/DB/DM/FILE Record/Entity Field/Attribute/Data Element Byte Bits (EBCDIC, ASCII) Binary On, Off Electricity HW Computer Worked Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 4

ระบบสารสนเทศแบบ MIS คือ ระบบฐานข้อมูล DBS: Data Base Systems คือ ความหมาย MIS แตกต่างกับ DBS แง่มุมจัดการทรัพยากร DATA พัฒนาโดยวิชา SA ระบบสารสนเทศแบบ MIS คือ ระบบฐานข้อมูล DBS: Data Base Systems คือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร REAL DATA SECTORS (KB by SA) จัดทำกรอบข้อมูลกลางขององค์กร ได้แก่ลักษณะประเภท ชนิดข้อมูล ที่จะใช้ กำหนดกระบวนการ และขั้นตอน ระบบงานที่จะได้รับกรอบข้อมูล (BPS) ระบบฐานข้อมูล การประเมินเลือกสรร จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลทุกอย่าง ขององค์กร มาบันทึกเก็บรักษารวมไว้ ณ แหล่งที่เดียวกัน โดยจำแนกเป็นประเภท ชนิดของ ฐานข้อมูล ตามบทบาท อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กร เพื่อควบคุมความปลอดภัย และสามารถให้บริการ เรียกใช้ข้อมูลโดยผู้ใช้ ทุกระดับ ในองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 5

ระบบสารสนเทศแบบ MIS คือ ระบบฐานข้อมูล DBS: Data Base Systems คือ ความหมาย MIS แตกต่างกับ DBS แง่มุมจัดการทรัพยากร DATA พัฒนาโดยวิชา SA ระบบสารสนเทศแบบ MIS คือ ระบบฐานข้อมูล DBS: Data Base Systems คือ ICT INFRASTRUCTURE SECTORS (Technology by Procurement) จัดทำกรอบลักษณะคุณสมบัติ ของ โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ที่องค์กรต้องการ APPLICATION SECTORS (Virtual by HRD or BPO) กำหนดความต้องการใช้ โปรแกรมประยุกต์ MIS โดย การประยุกต์ใช้และพัฒนา ข้อ(2) เข้ากับ ข้อ(1) ผ่าน กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความเกี่ยวพันกันมารวมไว้เข้าด้วยกัน เช่นข้อมูลลูกค้า เป็นฐานข้อมูลที่ฝ่ายการผลิตการตลาดใช้ร่วมกัน BPS เชื่อมโยงกัน การบูรณาการข้อมูลภายในองค์กร เพื่อประสานเชื่อมโยง การจัดทำข้อมูลที่มีมาตรฐานเดียวกัน Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 6

โปรแกรมประยุกต์ใช้ MIS ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (DBMS Software) คือ ความหมาย MIS แตกต่างกับ DBS แง่มุมจัดการทรัพยากร SW พัฒนาโดยวิชาSE โปรแกรมประยุกต์ใช้ MIS (MIS Software) คือ ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (DBMS Software) คือ โปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อผลิต สร้างการบริหารจัดการระบบข้อมูลขององค์กรขึ้น โดย Programmer (Application program) เพื่อ ใช้ระบบสารสนเทศประเภท ชนิดต่างๆเช่น e_Government, e-Commerce ซอฟต์แวร์ MIS/COTS ถูกสร้างขึ้นจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ MIS เช่น ERP, SAP ซึ่งสามารถให้บริการระบบย่อยๆของ MIS ได้ เช่นซอฟต์แวร์ ES, EIS, ESS, EIS, DSS, OAS, EDPS, TPS ระบบซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล(Data Base Management Systems: DBMS) เป็นซอฟต์แวร์ DBMS/COTS ที่บริษัทซอฟต์แวร์ต่างๆ ผลิตมาจากโรงงาน เช่น Oracle, Zybase, MSSQL, MySQL ชนิด DBMS มีหลายชนิด ขึ้นกับเก็บโครงสร้าง DBS ชนิดไหนเช่น HDBMS, RDBMS, NDBMS Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 7

ความหมาย MIS แตกต่างกับ DBS แง่มุมจัดการทรัพยากร HW/SW พัฒนาโดยวิชา CBIS, TBIS จัดการ MIS ด้วยฮาร์ดแวร์ (MIS Hardware) คือ จัดการฐานข้อมูล ด้วยฮาร์ดแวร์ (DBS/DBMS) คือ เก็บรักษาระบบสารสนเทศ MIS ด้วยสื่อกระดาษเช่น สมุด แฟ้ม เอกสาร หนังสือ ในห้องสมุด เก็บรักษา ฐานข้อมูล และซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล ด้วยสื่อคอมพิวเตอร์แบบ SASD, DASD Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 8

CLIENT/SERVER, LAN, WAN, Internet, Intranet, Extranet ความหมาย MIS แตกต่างกับ DBS แง่มุมจัดการทรัพยากร PW/DATA/HW/NETWORK/SW/Procedure/COST พัฒนาโดยวิชา WEB-BASED APPLICATION, WEB-SERVICE MIS Proposal Web-Based MIS Design CLIENT/SERVER, LAN, WAN, Internet, Intranet, Extranet Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 9

แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ MIS VS. DBS Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 10

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 11

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 12

องค์ประกอบ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) สถาบันการพลศึกษา ระบบโครงสร้าง พื้นฐานสารสนเทศ (HW/SW/ Network) กรอบและ ระบบข้อมูล หลักสูตร 3 คณะ ฐานข้อมูลเพื่อการจัดการ ข้อมูลพลศึกษา สุขศึกษา กีฬา นันทนาการ วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลวิเคราะห์ วิจัย และให้บริการชุมชน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้แก่ท้องถิ่น ข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน การศึกษาสำหรับบุคคล ที่มีความสามารถพิเศษและบกพร่องทางร่างกาย ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทย ระบบผู้ใช้ สาธารณชน นักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (MIS) และ Literacy การเรียนการสอน ของนักศึกษา และอาจารย์ ระบบงบ ประมาณ พันธกิจ แผนแม่บท วาระแห่งชาติ มาตรการ ความตกลง การประยุกต์ใช้ และพัฒนา ไอซีที Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 13

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 14

Physical Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 15

LOGICAL Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 16

Function Information Flow Work Flow Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 17

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 18

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 19

เป้าหมาย การประยุกต์ใช้การกีฬา ในหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ผลลัพธ์ นักเรียน นักศึกษา ประชาชน นำไปประยุกต์ใช้ หลักสูตร เทคโนโลยี การกีฬา เป็นแกนเชื่อมโยงระหว่าง โครงสร้างพื้นฐานกับผลลัพธ์สู่กลุ่มเป้าหมาย โครงสร้างพื้นฐานองค์ความรู้เทคโนโลยี การพลศึกษาการกีฬา และนันทนาการ(วิชาบังคับ) Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 20

ผลักดัน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ความอิสระวิชาการ องค์ ความรู้ภายใต้จริยธรรม Code of Conduct การนิเทศการศึกษา/ ยุทธศาสตร์การศึกษา การติดตามประเมิน ผลงาน กพร. สมศ. สมอ. Code of Institute / Management ส่งเสริม สนับสนุน และ ผลักดัน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ (กพ. กพร. กค.) Code of Ethics ความอิสระวิชาการ องค์ ความรู้ภายใต้จริยธรรม จรรยาบรรณ Institute VS. Intelligence/ Real Sectors Physical VS. Performance/ Management/ Application Sectors Educations VS. Ethics / Technocrats Sectors Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 21

MDZ ? Intellectual Property (IP) Wisdom Knowledge INFORMATION DATA แนวทางศึกษาการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา แก่นพุทธศาสนา LOGICAL / ALGORITHM of Information Processors มุมมองยุคสารสนเทศ สังคมสารสนเทศ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ประยุกต์สู่ New Economy Information Processors Intellectual Property (IP) ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ MDZ ? Information Processors Wisdom Information Processors ทิศทางวิวัฒนาการและพัฒนาสู่ยุคต่างๆ Processors (Value Chain) by Individual, Group, Organization, Society, Nation, World Methodology by Descriptive, Explanation, Forecasting TOOLS By Socio-cultural INNOVATION Management By S-M-C-R-E (FF, FB) Knowledge Information Processors INFORMATION Information Processors DATA Information Processors FACTS Information Processors ENTITY ธรรมชาติเปลี่ยนตลอดเวลาอุดมศึกษา ครบวงจร ?? Kenneth E. Knight & Reuben R. McDaniel, Jr.,Organization: An Information Systems Perspective (Belmont Califf: Wadsworth publishing Company, Inc. 1979) Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 22 BACK

Entity Flow (Context Diagram) Fact Flow Data Flow Information Flow Knowledge Flow Wisdom Flow Intellectual Flow Global Flow Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 23

ศึกษาวิเคราะห์ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา 2550-2554 ศึกษาวิเคราะห์ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา 2550-2554 กระแสสิ่งแวดล้อม กรอบยุคสารสนเทศ(สังคมอุดมความรู้) โลกาภิวัตน์ เศรษฐกิจใหม่ ความสมดุลย์เศรษฐกิจพอเพียง กับ การเปิดเสรีการค้า VS. อดีดเราใช้บทบาทกรมพลศึกษา พัฒนาการกีฬาของประเทศ ยุทธศาสตร์การพลศึกษาเข้า สู่สิ่งแวดล้อมโลก :- การบริหารจัดการ การกีฬา คน กับ สิ่งแวดล้อม กรอบองค์ความรู้ สารสนเทศ หลักสูตรการพลศึกษา และสิ่งแวดล้อม การจัดทำ แผนแม่บท ไอซีที 2550 - 2554 Outcome ผลกระทบ 1.การเรียนรู้พลศึกษา กีฬา มีการดู เลียนแบบ ได้ทั่วโลก ผ่านสื่อ e 4 ท ถ่ายทอดสด 2.ผู้เรียน ผู้เล่น มีความพร้อม ร่างกายจิตใจผ่านมัลติมีเดีย 3. ธุรกิจการผลิตการตลาด การเรียน เล่นกีฬาเปลี่ยน พฤติกรรมผ่าน CD, Internet 4. การบริหารจัดการพล ศึกษาเปลี่ยน ? R/D ? 5. อื่นๆ………. การจัดการทรัพยากร 1. การใช้แผนยุทธทธ ศาสตร์ MBO Logic 2.นวัตกรรมเทคโนโลยี เครื่องจักรกลการกีฬา ทุกชนิด นาโน ชีวภาพ เกี่ยวกับสุข อนามัย ปลอดภัย และ Virtual ICT PR 3. วิชาการ เข้าถึง ข้อ 1-2 (BPR) 4. วินัย Code of ethics 5. HRD/ R/D (L & G , Sat.) 6. การจัดการ งบฯ การทบทวน การจัดการ ยุทธศาสตร์ MBO 1. ประเมินสถานการณ์ โดยการวิเคราะห์ SWOT (SA/Design)ต้องการ เรียนรู้ หลักสูตรการพล ศึกษา3 คณะ 2. การส่งเสริม สนับสนุน ผลักดัน การประยุกต์ใช้ ไอซีที ลงสู่การตัดสินใจ บริหาร การปกิบัติงาน และ การติดตาม ประเมิน ผล ผลผลิต ผล กระทบ ด้วย KPI 3. อื่น ๆ Output ผลผลิต 1. มีตลาดที่ ขาย PW Skill นักกีฬาทุก ประเภท สู่ ตลาด สมัครเล่นและอาชีพ ระดับในประเทศ และ ต่างประเทศ 2. Competency ผู้ เล่นกีฬาทุกสาขา แข็งแรง เข้มแข็ง 3. ผลิตภัณฑ์ กีฬา ทุกชนิด ทุกสาขา วิสัยทัศน์ ”สถาบันการพลศึกษาเป็นสถาบัน อุดมศึกษาชั้นนำที่ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านพลศึกษา กีฬาและสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศระดับมาตรฐาน สากลอย่างยั่งยืน” การกำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดัน หลักสูตรสถาบันการพลศึกษา กีฬาทุกประเภท ก้าวหน้า พัฒนาอย่างต่อเนื่อง KEY Performance Indicators ตัวชี้วัด (FB) Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 24

ข้อสังเกต จัดทำแผนยุทธศาสตร์ไอซีที สถาบันการพลศึกษา 2550-2554 ข้อสังเกต จัดทำแผนยุทธศาสตร์ไอซีที สถาบันการพลศึกษา 2550-2554 กำหนด กรอบ องค์ความรู้ สารสนเทศการบริหารการพลศึกษา International Charter of Physical Education and Sport ภายใต้ Good Governance, Globalization ผ่าน Web: IPE.AC.TH+วิทยาเขต ?? สร้างยุทธศาสตร์การพลศึกษาเข้า สู่สิ่งแวดล้อมโลก :- การบริหารจัดการ การกีฬา คนไทย กับ โลกาภิวัตน์ กรอบ องค์ความรู้ สารสนเทศ หลักสูตรการพลศึกษาผ่าน e-Learning การจัดทำ แผนแผนแม่บท ไอซีที 2550 - 2554 ทบทวน การ บรรลุ 1. วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจ 3.ยุทธศาสตร์ 4. แผนงาน 5. โครงการ ICT 2550 กำหนด งบฯ เพื่อ การจัดการทรัพยากร 1. งบยุทธศาสตร์ แผนแม่บท 2 แผน 2. งบพันธกิจ 3. งบนโยบายรัฐ วาระแห่งชาติ 4. กองทุนพลศึกษา ศึกษา ทบทวน การจัดการ ยุทธ ศาสตร์ MBO 1. แผนแม่บท การ พลศึกษา 50-54 2. แผนแม่บท ไอซี ที ศึกษา Output ผลผลิต 1.E-Learning 2.E-Library / Digital Library /eBook 3.บูรณาการ Web, Data Center ศึกษา Outcome ผลลัพธ์/ ผลกระทบ 1. E-Education 2. E-Society 3. E-Government การกำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดัน หลักสูตรสถาบันการพลศึกษา กีฬาทุกประเภท ก้าวหน้า พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผ่านซอฟต์แวร์ KEY Performance Indicators Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 25

ทุกกลุ่มตั้งเป้าหมายด้วย ตรรกศาสตร์ VS. Professional, Technique S: Senders M: Message Contents, Syllabus C: Channel, Device as Information Processor R: Receiver , Stakeholders and Shareholders E: Effective, Evaluation and Planning Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 26

เงื่อนไข การพัฒนาหลักสูตรสถาบันการพลศึกษา สภาพสิ่งแวดล้อมสถาบันการพลศึกา สถาบันอุดมศึกษาใหม่ ตาม พรบ. 2548 ได้รับผลกระทบจาก ยุคสังคมฐานความรู้ ภายใต้กระแส การเปิดเสรีการค้าสินค้า และการค้าบริการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ง่าย ไม่เลือกปฏิบัติ การบริหารจัดการแบบธรรมาภิบาล การเรียนการสอน ไร้พรมแดน 24 ชั่วโมง ร่วมกับเครือข่ายในประเทศและนานาชาติ การจัดหลักสูตร ภายใต้การบริหารจัดการของสถาบันการพลศึกษา 2 ระบบ เพื่อ การบริหารจัดการตามนโยบายรัฐบาล และตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ความอิสระภาพทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ความพร้อมของผู้เรียน ผู้ศึกษา Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 27

เงื่อนไข การพัฒนาหลักสูตรสถาบันการพลศึกษา ความพร้อมเทคโนโลยี เทคโนโลยีเพื่อบรรลุผลลัพธ์ (Outcome) ตอบสนองกลุ่มผู้เรียน ผู้สอน VS. E-Government, E-Instruments เทคโนโลยีเพื่อบรรลุผลผลิต(Output) หลักสูตรอุดมศึกษา VS. องค์ความรู้แบบ Multi-disciplinary Courseware, eBOOK, Digital Library เทคโนโลยีเพื่อบรรลุกระบวนการเรียนการสอน(Process) :- Material Technology, BIO-Tech, ICT Technology (Micro, Nano) VS. E-Learning, E-Instruments เทคโนโลยีเพื่อบรรลุการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา (Input) VS. ICT Infrastructures, Instruments, Partner network เทคโนโลยีเพื่อการติดตามประเมินผลสถาบันการพลศึกษา VS. KPIซอฟต์แวร์ BSC, ICT Master plan Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 28

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 เสนอแนะได้บางส่วนในเวลาที่กำหนดเพื่อเป็นตัวอย่าง ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 4 กลุ่มวิชา กลุ่มวิชาภาษา การใช้ภาษาไทยและเรียงความ เพิ่มภาษาสเปนเพื่อการสื่อสาร (กลุ่มกีฬาลาตินอเมริกา) เพ่มภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ เพิ่มในทุกวิชาเติมคำว่า และแก่นพุทธศาสนา ยกเว้นวิชาสังคีตนิยม การพัฒนาบุคคลิกภาพและวิชาไทยศึกษา Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 29

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เปลี่ยนชื่อวิชา สารสนเทศและการสืบค้น เป็นสารสนเทศและการประยุกต์ใช้ เปลี่ยนชื่อวิชา สังคมไทยและวัฒนธรรมไทย เป็นนวัตกรรมวัฒนธรรมสังคมไทยและแก่นพุทธศาสนา เปลี่ยนชื่อวิชา สังคมระหว่างประเทศ เป็นนวัตกรรมวัฒนธรรมสังคมระหว่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 30

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพิ่มวิชา อัลกอริธึมการพลศึกษา กีฬาและนันทนาการ เพิ่มเติมชื่อวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและแก่นพุทธศาสนา เพิ่มเติมชื่อวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดี เพิ่มเติมชื่อวิชาแคลคูลัสและการประยุกต์ใช้ เพิ่มเติมชื่อวิชาการวิจัยเบื้องต้นและการบริหารโครงการ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 31

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพิ่มเติมชื่อวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการประยุกต์ใช้ เพิ่มวิชา การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมกีฬา เพิ่มเติมชื่อวิชาการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 32

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาเฉพาะ คณะศึกษาศาสตร์บัณฑิตวิชาบังคับ เพิ่มเติมชื่อวิชา หลักการศึกษาและอัลกอริธึม เพิ่มเติมชื่อวิชา พื้นฐานวิชาชีพครูและจรรยาบรรณ เพิ่มเติมชื่อวิชาวิธีสอนวิชาพลศึกษาและการประยุกต์ใช้ เพิ่มเติมชื่อวิชานวัตกรรมวัฒนธรรมสังคมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพิ่มเติมชื่อวิชาการวิจัยในชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อม เพิ่มเติมชื่อวิชา จิตวิทยาการศึกษาและการประยุกต์ใช้ เพิ่มวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัย(จะได้ไม่ต้องกำหนดไว้ในวิชาเลือก) Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 33

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาเฉพาะ คณะวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิชาบังคับ จำแนกกลุ่มวิชา(วิเคราะห์ใช้เทคโนโลยี มวลสาร ไปโอเทค นาโน และไอซีที) ปรับลดวิชาบังคับ เรื่องวิชากายวิภาคและสรีรวิทยาเป็นวิชาเดียวชื่อวิชา กายวิภาคและสรีรวิทยาเพื่อบริหารสมรรถนะการกีฬา เพิ่มวิชา เทคโนโลยีไบโอเทคกับชีวกลศาสตร์การกีฬา โดยตัดวิชาชีวกลศาสตร์การกีฬาออก เพิ่มวิชา การประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแอนนิเมชันกับเครื่องมือการเรียนการสอนการกีฬา Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 34

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาเฉพาะ คณะวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิชาบังคับ จำแนกกลุ่มวิชา(วิเคราะห์ใช้เทคโนโลยี มวลสาร ไปโอเทค นาโน และไอซีที) เพิ่มเติมชื่อวิชา จิตวิทยาการกีฬาและแก่นพุทธศาสนา เพิ่มเติมชื่อวิชา โภชนาการการกีฬาและเทคโนโลยีไบโอเทค เพิ่มเติมชื่อวิชา การฟื้นฟูและเวชศาสตร์การกีฬา เพิ่มเติมชื่อวิชา หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬาและการประยุกต์ใช้ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 35

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร สถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ปรับโครงสร้างหลักสูตร ฐานองค์ความรู้ หมวดวิชาเฉพาะ คณะศิลปศาสตร์บัณฑิตวิชาบังคับ จำแนกกลุ่มวิชา เพิ่มเติมวิชา การใช้อัลกอริธึมการกีฬาและนันทนาการเพื่อบริหารจัดการนิเทศศาสตร์ และธุรกิจ เพิ่มเติมวิชา วิธีการวิจัยการกีฬาและนัทนาการเพื่อสนับสนุนนิเทศศาสตร์ และธุรกิจ เพิ่มเติมวิชา การใช้เทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการกีฬาเพื่อนิเทศศาสตร์ ธุรกิจ และนันทนาการ เพิ่มเติมชื่อวิชา หลักการสื่อสารมวลชนและแก่นพุทธศาสนา เพิ่มวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการกีฬา Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 36

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 37

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 38

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 39

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 40

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 41

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 42

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 43

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 44

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 45

ศึกษาวิเคราะห์ หลักสูตร หลักสูตร เทคโนโลยีการกีฬาต่างประเทศ Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 46

ตัวอย่างหลักสูตร เต้นออกกำลังกาย และ การกีฬาเพื่อป้องกันการเกิดโรค จะต้องเรียนวิชาอะไร Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 47

Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 48

* Anatomy * Biochemistry * Physiology, sport physiology * Biomechanics * Hygiene                                        * Theory of PE * Sport pedagogy                            * History of PE and sports * Sport psychology                          * Sport sociology * Sport science research                   * Sport organisation * Sport journalism                            * Sport laws * Sport economics   Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 49

เทคโนโลยีด้าน ปรัชญา การพลศึกษาไทย สู่ มาตรฐานสากล VS. IPE ตัวอย่าง เป้าหมายปรัชญา หลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา เพื่อการจัดการศึกษา I-P-E ลักษณะวิชาเทคโนโลยีการสร้างสรรค์ ลักษณะวิชา เทคโนโลยีการประยุกต์ใช้ ลักษณะวิชา เทคโนโลยี จริยธรรม ความเชื่อในการเรียนรู้ศิลปมวยไทยมาตั้งแต่เกิด การใช้ความคิด จัดการกำลังกายและใจต่อสู้ ในเกมรุก น้ำใจในวิชาชีพ รู้แพ้ รู้ชนะ การฝึกอบรม ซ้อม และพัฒนาร่างกายและจิตใจให้เข้มแข็ง การเอาตัวรอด จากคู่แข่ง ตามกติกา และช่องทาง การบริหารทีมงาน และเครือข่าย ตระหนักช่องทางที่จะแพ้ ชนะ ไม่ประมาท พร้อมแก้ไขเกมรับและรุก การยอมรับกฎกติกา การกีฬา Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 50

แนวทางพัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาหลักสูตรปริญญาบัณฑิตวิชาชีพครู เป้าหมายเพื่อเน้นหลักสูตรเพื่อ บริหารจัดการ จรรยาบรรณ และแก่นพุทธศาสนา พัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีการกีฬา เป้าหมายประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยี Material Tech, Bio-Tech, ICT TECH (Micro, Nano) เข้ากับหลักสูตร สถาบันการพลศึกษา Multi-disciplinary Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 51

5. แนวทางพัฒนาองค์ความรู้ 5. แนวทางพัฒนาองค์ความรู้ สร้างเครื่องมือพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร เป้าหมาย e_Government:- Research Methodology, E-Learning, e-instruments Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 52

จบ สวัสดี Pichai Takkabutr :- Course_ipe.ppt 53