“ลดความเหลื่อมล้ำ ๓ กองทุน” นายแพทย์สมชัย นิจพานิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 29 สิงหาคม 2555
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ในระบบหลักประกัน 3 กองทุน” 1 รพ. สธ. UC รพ. คู่สัญญาหลัก ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS CS รพ.นอก หลักประกัน จ่าย (ต่างกัน) <<< ความเหลื่อมล้ำ ไม่สะดวก
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” สถานบริการได้รับการชดเชยบริการ 2 รพ.ต้นสังกัด สธ. รพ. สธ. การเบิกจ่าย UC 1 ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS รพ.1 รพ.2 3 CS รพ.นอก สธ. รพ.ต้นสังกัด สธ. อาการป่วย ผู้ป่วยเข้ารับบริการทุกที่ <<< ลดความเหลื่อมล้ำ
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 2 รพ.ต้นสังกัด สธ. รพ. สธ. การเบิกจ่าย ไม่มีปัญหา UC 1 ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS รพ.1 รพ.2 3 CS รพ.นอก สธ. รพ.ต้นสังกัด สธ. อาการป่วย ไม่มีปัญหา ยังมีปัญหา
ประเด็นนำเสนอ สิทธิรักษาพยาบาล 3 กองทุน ความเป็นมาของนโยบายให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน บูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ 3 กองทุน การดำเนินการและผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ประเด็นนำเสนอ สิทธิรักษาพยาบาล 3 กองทุน ความเป็นมาของนโยบายให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน บูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ 3 กองทุน การดำเนินการและผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
สิทธิรักษาพยาบาลทั้ง 3 กลุ่ม มีความเหมือน และความต่าง รัฐบาลต้องการให้ประชาชนทุกคน ได้รับสิทธิรักษาพยาบาลพื้นฐาน เท่าเทียม หรือใกล้เคียงกัน
ความแตกต่าง 3 กองทุน 1.ที่มาของกองทุน 2.ระบบการให้บริการ ความแตกต่าง 3 กองทุน 1.ที่มาของกองทุน 2.ระบบการให้บริการ 3.สถานพยาบาลที่ให้บริการ 4.สถานพยาบาลที่รับส่งต่อ 5.สิทธิประโยชน์ที่คุ้มครอง 6.สิทธิประโยชน์ที่ไม่คุ้มครอง 7.ยาและเวชภัณฑ์ 8.อุปกรณ์และอวัยวะเทียม 9.การสร้างเสริมสุขภาพ 10.สิทธิคลอดบุตร 11.วิธีจ่ายให้หน่วยบริการ
ประกันสังคม ประกันสุขภาพ ระบบประกัน ตามกฎหมาย (ภาคบังคับ) พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (อุบัติเหตุทางรถ) พ.ร.บ.เงินทดแทน (เจ็บป่วย / อุบัติเหตุจากการทำงาน) ระบบประกันสุขภาพเอกชน (ภาคสมัครใจ) ข้าราชการ & พนง.รัฐวิสาหกิจ สิทธิพื้นฐาน ประกันสังคม ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต & สุขภาพ ประกันอุบัติเหตุ ประกันกลุ่ม
ประเด็นนำเสนอ สิทธิรักษาพยาบาล 3 กองทุน ความเป็นมาของนโยบายให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน บูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ 3 กองทุน การดำเนินการและผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
การพัฒนาระบบประกันสุขภาพเพื่อประชาชนในความต่างของกองทุน
การพัฒนาระบบประกันสุขภาพเพื่อประชาชน ในความต่างของกองทุนสุขภาพ การรวม 3 กองทุน ยังไม่มีนโยบายนี้ บูรณาการระบบบริการ ให้ประชาชนมั่นใจ ปลอดภัย ระบบบริการ ที่นำร่อง บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
การบริการของกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบัน ภายใต้กองทุนที่แตกต่าง ตรวจสอบสิทธิ ให้บริการตามสิทธิ เกิดความล่าช้า รักษาตามมาตรฐาน ประชาชนไม่มั่นใจ การเบิกจ่ายจากกองทุน ผู้ให้บริการสับสน เป็นภาระของหน่วยบริการ
ความต้องการของประชาชน เข้าถึงทุกโรค : สะดวกรวดเร็ว เท่าเทียมทุกที่ : มีมาตรฐาน คุณภาพดีทุกครั้ง : มั่นใจ
พัฒนาระบบบริการฉุกเฉิน ประชาชนได้รับการช่วยเหลือภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่คำนึงถึงสิทธิ การส่งต่อไปรับการรักษาต่อที่สถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า “ไร้รอยต่อ” ได้ทันทีตามมาตรฐานทางการแพทย์
“ไร้ทวงสิทธิ รวดเร็ว ปลอดภัย ไร้รอยต่อ” ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น
ประเด็นนำเสนอ สิทธิรักษาพยาบาล 3 กองทุน ความเป็นมาของนโยบายให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน บูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ 3 กองทุน การดำเนินการและผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
การประชุมเตรียมงาน และติดตามความคืบหน้าผลการดำเนินงาน ตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน สร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน
การร่วมลงนามในบันทึกความร่วมมือ ( Memorandum of Understanding :MOU) ตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน สร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๕
ศูนย์ประสานงานเจ็บป่วยฉุกเฉิน นโยบายสร้างความเป็นเอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน กระทรวงสาธารณสุข ๑ เมษายน ๒๕๕๕
3. ออกเยี่ยมหน่วยบริการ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ 1.รพ.พระนั่งเกล้า นนทบุรี 2. รพ.ราชวิถี 3. รพ.รามาธิบดี 4. รพ.ปทุมธานี
ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น เมษายน 2555 ประกาศเริ่มให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน ตามนิยามประกาศของคณะกรรมการ การแพทย์ฉุกเฉิน ๑๕ กันยายน ๒๕๕๔ ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน
การบริการ ผู้ป่วยฉุกเฉิน สามารถไปรับบริการกับรพ.ใดๆก็ได้ ตามจำเป็น เมื่อเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตหรือผู้ป่วยเร่งด่วน (ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน) การบริการเป็นไปตามความเร่งด่วน และความรุนแรงของโรค ไม่มีการตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาลก่อนให้บริการ และไม่มีการเรียกเงินสำรองจากผู้ป่วย
เกณฑ์สถานพยาบาล ได้แก่โรงพยาบาลเอกชน ที่อยู่นอกเครือข่าย ๓ กองทุน โรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่าย ของกรมบัญชีกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลเอกชนทุกแห่ง โรงพยาบาลเอกชน นอกเครือข่ายของสำนักงานประกันสังคม ได้แก่ โรงพยาบาลเอกชนที่ไม่ใช่โรงพยาบาลคู่สัญญาและเครือข่าย โรงพยาบาลเอกชนนอกเครือข่ายของระบบประกันสุขภาพ ได้แก่ โรงพยาบาลเอกชนที่ไม่ใช่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพ
หลักการชดเชย ในกรณีผู้ป่วยฉุกเฉินเข้ารับบริการกับ รพ.ในเครือข่ายของ ๓ กองทุน ให้เป็นไปตามระบบปกติของทั้ง ๓ กองทุน ในกรณีที่ผู้ป่วยฉุกเฉินเข้ารับบริการกับ รพ.นอกเครือข่ายของ 3 กองทุน การบริการผู้ป่วยนอก ที่ห้องฉุกเฉิน ใช้อัตราของกรมบัญชีกลาง การบริการผู้ป่วยใน ให้ใช้อัตรา 10,500 บาท ต่อ adjusted related weight สำหรับการบริการที่ห้องฉุกเฉินและไม่ได้รับไว้รักษาพยาบาลในโรงพยาบาล ให้มีการพัฒนากลไกกลางสำหรับการชดเชย อัตราค่าบริการ การเรียกเก็บค่าบริการและการตรวจสอบของ ๓ กองทุน ให้สะดวกและไม่ให้เหลื่อมล้ำกัน -ในกรณี ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตหรือผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วนเข้ารับบริการกับรพ.นอกเครือข่ายของ ๓ กองทุน กำหนดให้มีกลไกกลางสำหรับการชดเชย อัตราค่าบริการ การเรียกเก็บค่าบริการและการตรวจสอบของ ๓ กองทุน โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สปสช) ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง (Clearing House) ดูแลเรื่องการจ่ายชดเชย 30
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ในระบบหลักประกัน 3 กองทุน” 1 รพ. สธ. UC รพ. คู่สัญญาหลัก ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS CS รพ.นอก หลักประกัน จ่าย (ต่างกัน) <<< ความเหลื่อมล้ำ ไม่สะดวก
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” สถานบริการได้รับการชดเชยบริการ 2 รพ.ต้นสังกัด สธ. รพ. สธ. การเบิกจ่าย UC 1 ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS รพ.1 รพ.2 3 CS รพ.นอก สธ. รพ.ต้นสังกัด สธ. อาการป่วย ผู้ป่วยเข้ารับบริการทุกที่ <<< ลดความเหลื่อมล้ำ
“เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 2 รพ.ต้นสังกัด สธ. รพ. สธ. การเบิกจ่าย ไม่มีปัญหา UC 1 ผู้ป่วยฉุกเฉิน SS รพ.1 รพ.2 3 CS รพ.นอก สธ. รพ.ต้นสังกัด สธ. อาการป่วย ไม่มีปัญหา ยังมีปัญหา
๑.ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ ข้อมูลจาก สปสช ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ ถึง ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๑.๑ ประชาชนจำนวน ๔,๐๘๐ ราย สามารถเข้าถึงบริการโดย ใช้บริการที่โรงพยาบาลเอกชนนอกระบบ จำนวน ๒๐๕แห่ง ๑.๒ สามารถลดค่าใช้จ่ายให้กับประชาชน โดยรัฐบาลได้จ่ายเงิน ชดเชย เป็นจำนวนเงิน เดือนละ ๑๑ - ๑๓ ล้านบาท ๑.๓ ประชาชนพึงพอใจต่อโครงการ “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” มากที่สุด ใน ๑๐ โครงการ ที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล โดยเก็บข้อมูลจาก ๒๑ จังหวัดทั่วประเทศ จำนวน ๓,๗๒๑ ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ ๑๐ – ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕
โครงการ/มาตรการเร่งด่วนของรัฐบาล ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อโครงการ/มาตรการเร่งด่วนต่างๆ ของรัฐบาล ๑๐ ลำดับแรก (สอบถามทั้งหมด ๑๙ โครงการ/มาตรการ) โครงการ/มาตรการเร่งด่วนของรัฐบาล กทม. ต่างจังหวัด ภาพรวม ในเขตเทศบาล .นอกเขตเทศบาล ๑) โครงการ “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” ๗.๘๖ ๗.๘๒ ๘.๑๙ ๗.๙๔ ๒) การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เป็นแบบขั้นบันได ๗.๓๗ ๗.๖๒ ๘.๐๕ ๗.๖๖ ๓) การเร่งป้องกันปราบปรามปัญหายาเสพติดให้เป็น “วาระแห่งชาติ” ๗.๐๕ ๗.๓๔ ๗.๕๗ ๗.๓๑ ๔) การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน ๖.๙๘ ๗.๐๑ ๗.๔๘ ๗.๑๓ ๕) การพัฒนาแหล่งน้ำ/ระบบชลประทานให้ทั่วถึงเพียงพอ ๖.๘๒ ๗.๕๒ ๗.๐๘ ๖) การส่งเสริมพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ๖.๘๘ ๗.๐๒ ๗.๒๒ ๗.๐๓ ๗) การให้เงินเพิ่มกองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน ๖.๘๖ ๖.๗๔ ๗.๔๙ ๖.๙๙ ๘) การเพิ่มค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเป็น ๓๐๐ บาทต่อวัน ๖.๘๗ ๖.๖๙ ๗.๓๘ ๖.๙๔ ๙) ลดภาษีการซื้อบ้านหลังแรก ๖.๙๑ ๖.๗๒ ๖.๘๙ ๖.๘๓ ๑๐) การจัดหาคอมพิวเตอร์แทบเล็ต/อุปกรณ์สื่อสารให้นักเรียน ๖.๔๖ ๖.๖๗ ๗.๒๓ ๖.๗๖ กลุ่มเป้าหมายในการสำรวจ ประชาชนทั่วไปที่มีสิทธิในกองทุนสวัสดิการข้าราชการ ประกันสังคม และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากทั่วประเทศ เก็บรวบรวมข้อมูลจาก 21 จังหวัดทั่วประเทศ จำนวน 3,721 ตัวอย่าง ระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการสำรวจ ระหว่างวันที่ 10 – 18 พฤษภาคม 2555 หมายเหตุ ความหมายของค่าคะแนน ๑-๒ ไม่พึงพอใจมาก, ๓-๔ ไม่พึงพอใจ, ๕-๖ เฉยๆ, ๗-๘ พึงพอใจ , ๙-๑๐ พึงพอใจมาก ที่มา : การสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โครงการ “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” สำรวจโดย ABAC ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
๒.ผลการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ที่บูรณาการในภาพรวม ๒.๑ ระบบบริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน จำนวนผู้ใช้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉินที่สถานพยาบาลเอกชนนอก ๓ กองทุนตั้งแต่ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ ถึง ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ มีจำนวนทั้งสิ้น ๔,๐๘๐ ราย โดยร้อยละ ๗๗ เป็นผู้ป่วยใน สะท้อนให้เห็นว่าส่วนใหญ่อาการเจ็บป่วยฉุกเฉินจำเป็นต้องพักรักษาในโรงพยาบาล ส่วนที่ใช้บริการกรณีผู้ป่วยนอกมีเพียงร้อยละ ๒๓ เท่านั้น ดังแผนภูมิ
จำนวนผู้ใช้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน นโยบายบูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน (ข้อมูลจาก สปสช. ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕)
จำนวนผู้ใช้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน นโยบายบูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน จำแนกตามสิทธิ (ข้อมูลจาก สปสช. ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕)
1.ระบบบริการ ปัญหาที่พบ การดำเนินการแก้ปัญหาในเบื้องต้น ประชาชนยังไม่เข้าใจ เกณฑ์อาการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต และสถานพยาบาลที่เข้าใช้บริการ ปรับปรุงการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กับประชาชน ให้เข้าใจการใช้บริการกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน เน้นย้ำอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินและสถานพยาบาลที่ไปใช้บริการใกล้ที่เกิดเหตุ จัดทำสติกเกอร์สโลแกนใหม่ แจกให้ทุกโรงพยาบาลทั่วประเทศ ทั้งภาครัฐและเอกชน ขอความร่วมมือจากทุกโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ช่วยประชาสัมพันธ์ กระทรวงสาธารณสุขจัดโครงการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
๒.๒ ระบบส่งต่อ กระทรวงสาธารณสุข ได้รับมอบให้ทำหน้าที่ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน เรื่องระบบส่งต่อเมื่อผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉินพ้นภาวะวิกฤต กระทรวงสาธารณสุขได้บูรณาการระบบส่งต่อระบบปกติและตามนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินขณะนี้เป็นการดำเนินการคู่ขนานทั้ง ๒ ระบบ เพื่อนำมาบูรณาการให้พัฒนาเป็นระบบเดียวกันของงานบริการประจำในอนาคต
การดำเนินการระบบส่งต่อนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน สร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน สรรหา ประสานกับโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลางที่ยินดีรับย้ายผู้ป่วยที่พ้นระยะ วิกฤตจากโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ ไปดูแลรักษาต่อ เพื่อเพิ่มทางเลือกการ จัดหาเตียงรองรับการส่งต่อให้เร็วที่สุด ทบทวนเกณฑ์การรับส่งต่อโดยให้เวลา Call center ๔๘ ชั่วโมงหลังรับแจ้งจากโรงพยาบาลที่ ๑ และหากได้มีการจัดหาเตียงรับย้ายได้แล้ว แต่ผู้ป่วยประสงค์เลือกรักษาต่อที่สถานพยาบาลเดิมได้มีข้อสรุปให้ผู้ป่วยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายหลังพ้นภาวะวิกฤต และให้มีการใช้แบบบันทึกยินยอมรับการรักษา (Consent form)ที่ผู้ป่วยเขียนด้วยลายมือของตนเอง ทบทวนขั้นตอนการส่งต่อ เมื่อผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต ในแต่ละสิทธิ ดังแผนภูมิขั้นตอนการส่งต่อ นโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน สร้างความเป็นเอกภาพ ๓ กองทุน ให้ทุกโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีศักยภาพสูงจัดเตียงสำรองไว้สำหรับการรับส่งต่อ จากสถานพยาบาลภาคเอกชน ๑ – ๒ เตียงต่อวัน กระทรวงสาธารณสุขจัดระบบส่งต่อที่มีลำดับในเขตกรุงเทพในเขตวงแหวนชั้นที่ ๑ (ปริมณฑล) และในเขตวงแหวนชั้นที่ ๒ (รายรอบ) ให้ทุกโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบประสานงานการรับส่งต่อที่สามารถติดต่อได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ให้มีการทบทวน Service Plan ของกระทรวงสาธารณสุขควรเพิ่มเติมสิ่งใดบ้าง ทั้งอัตรากำลังอุปกรณ์ งบประมาณเพื่อรองรับระบบส่งต่อให้เข้มแข็งมีประสิทธิภาพทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว
สิ่งที่ดำเนินการต่อ เกี่ยวกับการจ่ายชดเชย คือ การขยายความครอบคลุมการให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ไปยังพนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลอื่น ข้าราชการ/ พนักงานท้องถิ่น ที่ได้สิทธิรักษาพยาบาลจากรัฐ อยู่ระหว่างการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทบทวนกฎระเบียบต่างๆ ๒) การแก้ไขปัญหาผู้ประสบภัยจากรถ ตามพ.ร.บ.คุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งผลการติดตามความก้าวหน้าโดยกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๕ มีดังนี้
คณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย(คปภ คณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย(คปภ.) ได้มอบหมายให้บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด (ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๑๐ ทวิ) ดำเนินการ ดังนี้ เป็นผู้รับผิดชอบจ่ายเงินค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยหรือโรงพยาบาลในระบบ E-claim แทนกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยไปก่อน(ในทุกกรณี) เป็นผู้รวบรวมเอกสารต่างๆแทนผู้ประสบภัย เพื่อขอรับเงินชดเชยที่จ่ายไปคืนจากกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยในภายหลัง หากไม่สามารถรวบรวมเอกสารได้ครบ บริษัทฯจะเป็นผู้รับผิดชอบในการจ่ายเงินค่าเสียหายเบื้องต้นนั้นเอง โดยจะเริ่มดำเนินการ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ คปภ. จะติดตามการดำเนินการของบริษัทฯ ทุก ๓ เดือน และจะเชิญผู้แทนจากโรงพยาบาลต่างๆ มาประชุมเพื่อทำความเข้าใจกับวิธีการดำเนินการในส่วนนี้ต่อไป
ข้อดีจากการทบทวนแนวทางปฏิบัติดังกล่าว หากเป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากรถ ไม่ว่ากรณีฉุกเฉินหรือไม่ บริษัทฯจะจ่ายเงินค่าเสียหายเบื้องต้นทุกกรณี ตามค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจริง แต่ไม่เกิน ๑๕,๐๐๐ บาท มีผลทำให้ทั้ง ๓ กองทุน ลดภาระค่ารักษาพยาบาล ในส่วนที่ต้องจ่ายให้แก่ผู้ประสบภัยจากรถ
รพ. ผู้ประสบภัยจากรถ เดิม ภายใน ๗ วัน E – Claim กองทุน กรณีมีประกัน รพ. เรียกเก็บเงินทุกกรณีและผู้ป่วยต้องยื่นเบิกกับกองทุนฯ เอกสาร เช่น บันทึกประจำของพนักงานสอบสวน กรณีไม่มีประกันผู้ป่วยต้องเบิกเงินกับกองทุน ภายใน ๗ วัน รพ. บริษัทกลางหรือบริษัทประกัน ผู้ประสบภัยจากรถ E – Claim กรณีมีประกัน มอบอำนาจให้ รพ. หรือ นำใบเสร็จรับเงินไปเบิกกับบริษัทประกันเอง กองทุน
ดำเนินการแทนผู้ป่วยในเรื่องเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะมีประกันหรือไม่ ใหม่ ดำเนินการแทนผู้ป่วยในเรื่องเอกสารต่างๆ กรณีมีประกัน บริษัทประกันภัย ภายใน ๗ วัน รพ. บริษัทกลาง ผู้ประสบภัยจากรถ E – Claim ไม่ว่าจะมีประกันหรือไม่ กรณีไม่มีประกัน กองทุน
๒.๔ การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ จากการให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉินตามนโยบายรัฐบาล โดยเน้นการประชาสัมพันธ์กับประชาชนในประเด็นสำคัญ คือ ๑) เรื่องอาการนำที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลที่เน้นอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีภาวะคุกคามต่อชีวิตต้องให้การช่วยเหลืออย่างรีบด่วน ๒) การเข้ารับการรักษาสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุนภาคส่วน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม กระทรวงการคลัง และสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้จัดระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนเข้าใจเจตนารมณ์ของรัฐบาล สรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้
จัดเจ้าหน้าที่บริการติดต่อ สอบถาม ให้ข้อมูล ๒๔ ชั่วโมง ได้แก่ ศูนย์ประสานงานเจ็บป่วยฉุกเฉิน ฯ กระทรวงสาธารณสุข , Call center สายด่วน ๑๓๓๐ ของ สปสช. , สายด่วน ๑๕๐๖ ของสำนักงานประกันสังคม , Call center กรมบัญชีกลาง๐๒ ๒๗๐ ๖๔๐๐ , สายด่วน ๑๖๖๙ ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ให้ข้อมูลนโยบายของรัฐบาลและขั้นตอนการใช้บริการแก่ประชาชนผ่านสื่อต่างๆ มีความหลากหลายทั้งประเภทสื่อ และช่องทางการประชาสัมพันธ์ เช่นภาพยนตร์โฆษณาชุด Testimonial ความยาว ๓๐ วินาที จัดทำเป็น ๔ ตอน ผ่านทางสื่อโทรทัศน์ สปอตวิทยุ แผ่นพับ สติกเกอร์ ป้ายคัทเอาท์สื่อหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ของแต่ละหน่วยงาน วิทยุ โทรทัศน์ ประชุม Tele conference กับหน่วยบริการในภูมิภาค จัดพิมพ์สติกเกอร์ นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” แจกให้โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ สำรวจความคิดเห็นของประชาชน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โครงการ
ประเด็นนำเสนอ สิทธิรักษาพยาบาล 3 กองทุน ความเป็นมาของนโยบายให้บริการเจ็บป่วยฉุกเฉิน บูรณาการสร้างความเป็นเอกภาพ 3 กองทุน การดำเนินการและผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ปัญหา อุปสรรค การบริการในสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ไม่มีปัญหาอุปสรรค การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ไม่มีปัญหาอุปสรรค การบริการในสถานพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกรุงเทพมหานคร ปัญหาที่ได้ดำเนินการแก้ไข ด้านประชาสัมพันธ์อาการ เจ็บป่วยฉุกเฉิน รุนแรง เป็นอันตรายถึงชีวิต ที่ต้องนำ ผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาล โดยเฉพาะโรงพยาบาลใกล้ ที่เกิดเหตุ ที่ตรงตามวัตถุประสงค์
ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา สนับสนุนระบบริการสาธารณสุขภาครัฐและเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้เพียงพอต่อการรับกลับ ปรับปรุงการจ่ายชดเชยค่าบริการให้สะท้อนต้นทุนที่เหมาะสม พัฒนาระบบบริการเจ็บป่วยฉุกเฉินและระบบการส่งต่อของประเทศ จัดระบบ Supra-Contractor Pooling System ถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น