สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
งบที่ได้รับจัดสรรในการพัฒนารพ สต. สามผง  งบลงทุนเพื่อพัฒนาหน่วยปฐมภูมิจังหวัดนครพนม ปี 2552 จากสสจ. นพ. จำนวน 201, บาท วันที่ได้รับโอน 24 กค.52.
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ www.nhso.go.th กลไกการสนับสนุนการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และ การพัฒนาระบบรับ-ส่งต่อแบบบูรณาการ 2552 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ www.nhso.go.th

กลไกการสนับสนุนของ สปสช.(ต่อ) สปสช.เขตจะสนับสนุนงบ 200,000 บาท/แห่ง สำหรับดำเนินการพัฒนาระบบเชื่อมโยงบริการระหว่าง รสต. และ รพ.แม่ข่ายในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ได้แก่ ระบบIT ในการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หรือ การจัด Real time consultation เป็นต้น ระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน(home ward) การพัฒนาบุคลากรเพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังระหว่างรสต.และรพ.แม่ข่าย ทั้งนี้แนวทางและขั้นตอนในการดำเนินการให้สปสช.เขตร่วมหารือกับจังหวัดและพื้นที่เป้าหมาย

ที่มา โรงพยาบาลหล่มสัก จึงได้พัฒนาโครงการช่องทางด่วนพิเศษ หรือ Green Channel ขึ้น โดยผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อมาจากโรงพยาบาลตำบลมีช่องทางโดยเฉพาะไม่ต้องรอต่อคิวใหม่ ปัจจุบันมียอดผู้ป่วยผ่านช่องทางด่วนพิเศษประมาณ 4-50 รายต่อวัน ที่มา โรงพยาบาลหล่มสัก

สีเหลืองผู้ป่วยเดินทางมาเอง ร้อยละ 20 บัตรแยกประเภทและจำนวนผู้ป่วย (รพ.หล่มสัก) สีเหลืองผู้ป่วยเดินทางมาเอง ร้อยละ 20 จากผลการแยกรายละเอียดข้อมูลผู้ใช้บริการผู้ป่วยนอกและการใช้สัญลักษณ์สี พบว่า จำนวนผู้ป่วยที่นัดมาตรวจซ้ำมีร้อยละ 60 โดยใช้สัญลักษณ์แดง ผู้ป่วยสัญลักษณ์สีเขียวคือช่องทางด่วนพิเศษที่มาจากโรงพยาบาลตำบล มีร้อยละ 20 และผู้ป่วยมาเองมีร้อยละ 20 ของจำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด สีแดงนัดมาตรวจตามนัด ร้อยละ 60 สีเขียวจาก รพต. ร้อยละ20

การรักษาปรึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมครอบคลุม 31 แห่ง และได้พัฒนานำระบบ อินเตอร์เน๊ทความเร็วสูงผ่านดาวเทียมมาติดตั้งครอบคลุม 31 แห่ง ให้โรงพยาบาลตำบลสามารถปรึกษาทางไกล และรักษาทางไกลโดยมีแม่ข่ายโรงพยาบาลหล่มสัก โดยใช้ Program Skype เห็นภาพและได้ยินเสียงทำให้บุคลากรและประชาชนปลายทางมีความมั่นใจมากขึ้นในคุณภาพบริการที่ได้รับจากโรงพยาบาลตำบล ที่มา เครือข่ายอำเภอหล่มสัก

แหล่งงบประมาณที่สำคัญ งบ SP2 โครงสร้าง ครุภัณฑ์ บุคลากร งบชดเชย(OP,PP) เวชภัณฑ์ งบดำเนินการ เงินบำรุงหน่วยบริการ ครุภัณฑ์ บุคลากร งบสมทบท้องถิ่น ชุมชน งบดำเนินการPP งบสนับสนุนจากสปสช. ระบบเชื่อมโยงรพ.แม่ข่าย งบสนับสนุนจาก สสส. เตรียมระบบ พัฒนา ติดตาม

รพสต.คืออะไร ในUC (ก้าวต่อไป) สถานีอนามัยทั่วไป หน่วยร่วมให้บริการ CUPประเมินความพร้อม,รับค่าบริการจากCUP รพสต.(เล็ก,กลาง,ใหญ่) หน่วยบริการปฐมภูมิ ผ่านการประเมินตามเกณฑ์,รับค่าบริการจากCUP รพสต.ที่มีแพทย์ประจำ สามารถเป็นCUPได้ เฉพาะบางพื้นที่,สปสช.ประเมิน รับค่าบริการโดยตรงจากสปสช. เช่น CMU, เครือข่ายเมืองย่า * CUPที่สามารถจัดให้สอ.ในเครือข่ายผ่านเกณฑ์ประเมินเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ(หรือ รสต.) มีสิทธิได้รับงบOPเพิ่มเติมตามสัดส่วนประชากรในพื้นที่นั้น

โครงการพัฒนาระบบส่งต่อแบบบูรณาการ 2552 เน้นภารกิจประสานการส่งต่อในระดับปฐมภูมิ-ตติยภูมิ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาในรพ.ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพมากที่สุด ดังนี้ จัดศูนย์ประสานการส่งต่อทุกระดับ (ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับบริการ) โดยทำหน้าที่ประสานการส่งต่อผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง มีระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยที่เชื่อมโยงกันทุกระดับ โดยจัดทำระบบ IT ในพื้นที่ ระหว่างโซนแม่ข่าย และลูกข่าย มีการพัฒนาระบบส่งต่อที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ -โดยจัดทำผังเครือข่ายของศูนย์ฯทุกจังหวัดตาม GIS / มีตัวชี้วัดที่สอดคล้องพื้นที่ มีระบบการส่งกลับผู้ป่วยเรื้อรังเพื่อทำการรักษาต่อเนื่อง

การสนับสนุนงบประมาณ กรมสบส.(งบ 7 ลบ.) เพื่อพัฒนาโครงสร้าง กลไก ฐานข้อมูล นิเทศ ติดตาม เกณฑ์มาตรฐาน และสัมมนาวิชาการ หน่วยบริการ (เขตตรวจฯละ 1 ลบ.) เพื่อพัฒนาระบบที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่และกระตุ้นการดำเนินงาน เงินบำรุงหน่วยบริการ เป็นการร่วมลงทุนในเรื่องครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้างสำหรับระบบรับส่งต่อ สปสช.เขตเป็นผู้ประสานร่วมกับเขตตรวจฯในการจัดทำแผนระดับเขต และจัดสรรเงินให้หน่วยบริการ พร้อมทั้งกำกับการดำเนินงานของหน่วยบริการดังกล่าว

ขอบคุณครับ ^_^