แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย 4 ปี เพื่อเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติ ในหน่วยงานระดับสำนักงาน/กอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ รศ.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ทางสาธารณสุข หัวข้อสำคัญ มุมมองต่อสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ทางสาธารณสุข แนวทางและแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ

มุมมองต่อสุขภาพที่เปลี่ยนไป สุขภาพ คือ สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ทั้งมิติทาง... กาย ใจ สังคม ปัญญา ไม่ใช่แต่เพียงการไม่พิการ และการไม่มีโรคเท่านั้น ไม่ป่วย ปกติ มีภูมิคุ้มกัน

สุขภาพกับพฤติกรรม

สุขภาพ กับพฤติกรรมการรับบริการทางสุขภาพ Tertiary Care Secondary Care Primary Care Primary Health Care Self Care

สุขภาพกับสิ่งแวดล้อม

สุขภาพ หรือ “ตัวแทนของสุขภาพ” ??? สุขภาพ หรือ “ตัวแทนของสุขภาพ” ???

ความสุข สมดุล ชีวภาพ ส่งเสริม สุขภาพ อายุร อโรคยา สุขภาวะ สอดคล้อง พฤติกรรม สุขาภิบาล สงบ เชื้อโรค พลัง การ ปกครอง ป้องกันโรค พิการ สิ่งแวดล้อม รักษาโรค ดำรงสังคม การ จัดบริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ บริการสุขภาพ การเงิน รักษาตนเอง การศึกษา การประกัน ข้อมูล การคุ้มครอง ผู้บริโภค สันทนาการ

การใช้บริการสุขภาพ Source: NSO, Health Welfare Survey 2539

สุขภาพกับพัฒนาการทางสังคม สุขภาพกลายเป็นแรงผลักดันการขับเคลื่อนสังคม

สุขภาพ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ การควบคุมโรค พฤติกรรมการใช้ พฤติกรรม Lead Indicator Lag Indicator (Impact Indicator) การควบคุมโรค พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ พฤติกรรมการใช้ บริการสุขภาพ ค่าใช้จ่าย ฯลฯ สุขภาพ

ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ หัวข้อสำคัญ มุมมองต่อสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ แนวทางและแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ

สุขภาพ นโยบายและยุทธศาสตร์ การสร้างผลลัพธ์ด้านสุขภาพอาจต้องใช้เวลา ด้านสาธารณสุขอาจมี เป้าหมายที่สั้นกว่า นโยบายและยุทธศาสตร์ ของนักการเมือง...!!!

การประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ นโยบายและ ยุทธศาสตร์ ระยะสั้น ประเมิน ผลลัพธ์ Lag KPI นโยบายและ ยุทธศาสตร์ ระยะยาว ประเมิน ผลลัพธ์ Lag KPI ประเมิน ผลลัพธ์ ประเมิน ผลลัพธ์ ประเมิน ผลลัพธ์ Lead KPI Lead KPI Lag KPI

อะไรให้ผลระยะสั้น? อะไรให้ผลระยะยาว?

ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ หัวข้อสำคัญ มุมมองต่อสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ กับ นโยบายและยุทธศาสตร์ แนวทางและแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ

แนวทางเพื่อการประเมินผลลัพธ์ ด้านสุขภาพ ทำความเข้าใจกับประเด็นสำคัญของงานว่าคืออะไร หารูปธรรมที่จับต้องหรือเห็นภาพว่าสามารถนับหรือวัดได้ กำหนดตัววัดหรือสถิติที่จะใช้วัดหรือนับรูปธรรมดังกล่าว พัฒนาขึ้นมาเอง ใช้ตัววัด และ/หรือ เครื่องมือ ที่มีผู้พัฒนาไว้แล้ว

แหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินผลลัพธ์ ด้านสุขภาพ ฐานข้อมูลทุติยภูมิ ผ่านระบบรายงานทางระบาดวิทยา และอื่นๆ ผ่านฐานข้อมูลการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล คุณภาพของข้อมูล : การทบทวน การใช้ประโยชน์ และภาระงาน แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ การสำรวจ : ชุมชน / เวชระเบียน กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ

สุขภาพ หรือ ตัวแทนของสุขภาพ ? สรุป สุขภาพ หรือ ตัวแทนของสุขภาพ ? นโยบายและยุทธศาสตร์ ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร ? และเมื่อใด ? แนวทางและแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินผลลัพธ์ด้านสุขภาพ ?