นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
งบประมาณ ปี 2551 ขอไป 2,139 บ / ปชก ได้มา 2,100 บ / ปชก สปสช. สำนักงบประมาณ 97,600 ล้านบาท หักเงินเดือน 25,400 ล้านบาท 72,200 ล้านบาท.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2551
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการ งบกองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบประมาณ 2552 “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

หลักเกณฑ์และเงื่อนไข งบฯ P&P เป็นบริการรายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกสิทธิ ขอบเขตการใช้งบฯ - ค่าชดเชยบริการแก่หน่วยบริการ/สถานพยาบาล/หน่วยงานที่จัดบริการ P&P - ดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) ระดับประเทศและพื้นที่ - สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน P&P - สนับสนุนนวัตกรรมพัฒนาระบบบริการ P&P - สร้างแรงจูงใจโดยจัดสรรตามผลงานการบริการ P&P สปสช. สาขาจังหวัดและเขตฯ กทม. เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการบูรณาการให้เกิดการบริการ ภายใต้การจัดการและกำกับติดตามประเมินผลด้านงบประมาณโดย คกก. P&P เขตและคณะอนุฯหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ (อปสข.)

โครงสร้างงบ PP ปี 2552 PP Community (37.50) Expressed demand (109.86) สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตาม composite indicator คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 46.477 ล้านคน PP Capitation (193.72 บาทต่อหัว) 63.614 ล้านคน PP National Priority Program (15.36) ระดับประเทศ PP Community (37.50) Expressed demand (109.86) หักเงินเดือน PP Area based (31.00) ไม่หักเงินเดือน กองทุนตำบล (พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) จังหวัดแจ้งผลจัดสรรให้ สปสช.เพื่อโอนให้ Cup & PCU กรม Diff. by age group สปสช. สาขาจว. 70% สปสช. สาขาเขต 30 % UC NON-UC CUP ตามผลงาน Expressed demand 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก Sealant เด็กอายุ 6 – 12 ปี, การตรวจคัดกรองความเสี่ยง

P&P Vertical (977.44 ล้านบาท) P&P Vertical Program หรือ P&P National Priority Program and Central Procurement P&P Vertical (977.44 ล้านบาท) (15.36 บาท x 63.614 คน) Central Procurement (823.94 ลบ.) Vaccine 800 ลบ. พิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ - แม่และเด็ก 10 ลบ. - นักเรียน 10.94 ลบ. PKU milk 3.0 ลบ. National Priority Program 153.50 ล้านบาท National Health Need : (cost & preventive benefit) Policy or National strategy Short term Program to be Routine service

P&P Expressed demand services หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดสรรและจ่ายเงิน สิทธิ UC 1. จัดสรรโดย Differential Capitation ระดับจังหวัด ตามโครงสร้างอายุ ปชก. 2. จัดสรร 4 งวด (ต.ค. 51, ม.ค. เม.ย. ก.ค. 52) งวดละ 25% ยกเว้นหน่วยบริการนอกสังกัด สธ. และเอกชนจ่ายพร้อม การจัดสรร OP

P&P Expressed demand services สิทธิประโยชน์ของ ปชก. ทุกสิทธิ จ่ายเป็นค่าชดเชยบริการรายบุคคล ประเภทบริการ UC. SSS. CSMBS. ANC. + เงินสมทบ<7 เดือน มีสิทธิฯ PNC. FP. ยกเว้นทำหมัน EPI. - อนามัยเด็กเล็ก Sealant ตรวจคัดกรองฯ (รวมมะเร็งปากมดลูก) (ยกเว้นมะเร็งปากมดลูก) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

P&P Expressed demand services สิทธิ NON-UC (SSS. , CSMBS.) อัตราค่าบริการ ประเภทบริการ อัตราบริการ บ./ครั้ง/ราย SSS. CSMBS. ANC. ครั้งแรกไม่เกิน 1,200 ครั้งถัดไปไม่เกิน 400 + ตามสิทธิ PNC. ครั้งเดียวไม่เกิน 400 FP. (รวมค่าวัสดุ) ยาเม็ดคุมกำเนิด 40 ยาฉีดคุมกำเนิด 60 ยาฝังคุมกำเนิด 1,500 ห่วงอนามัย 280 การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก Pap smear 250 (รวมค่าป้ายและอ่านผล) VIA. - ค่าตรวจไม่เกิน 50 - จี้ด้วยความเย็นไม่เกิน 125

การคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. การคัดกรองความเสี่ยง 1.1 เป้าหมาย 20% ปชก. อายุ 15 ปีขึ้นไปทุกสิทธิ 1.2 การจัดสรรงบประมาณ UC รวมอยู่ใน Capitation Non – UC จัดสรรดังนี้ -โอนงบล่วงหน้า 30% ของงบประมาณที่คำนวณจากเป้าหมาย - งวดถัดไปจ่ายตามผลงานโดยหักจากยอดโอนล่วงหน้า 30% 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดำเนินการดังนี้ 2.1 กำหนดเป้าหมาย 10% ของกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองและจัดลำดับ ความสำคัญโดยคำนึงถึงขนาด ความรุนแรง ภาระโรค ศักยภาพ 2.2 หน่วยบริการ/สถานพยาบาล จัดทำแผนงาน/โครงการฯ โดยผ่านความเห็นชอบของ สสจ. และผ่านการอนุมัติโดย สปสช. เขต 2.3 เน้นการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่ม Metabolic (DM. HT. Obesity) หมายเหตุ งบจัดสรรให้หน่วยบริการโดยโอนผ่าน สปสช. สาขาจังหวัด (สสจ.)

ขอบเขต/กิจกรรมที่อยู่ภายใต้งบ PP COM. - การเยี่ยมบ้าน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง - อนามัยโรงเรียน - อนามัยชุมชน

หลักเกณฑ์การจัดสรรงบ P&P Com. จัดสรร Global ระดับจังหวัด โดยใช้ฐานข้อมูล ปชก. (ไม่หักเงินเดือน) ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ดังนี้ 1. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ 2. ข้อมูลการลงทะเบียนผู้มีสิทธิประกันสังคม 3. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการ สสจ. อปท. และ สปสช. เขต ร่วมหารือปรับฐานประชากรเพื่อจัดสรรงบฯ ทั้งนี้ให้คำนึงถึง ปชก. ที่อยู่จริง แนวทางจัดสรรแบ่งเป็น 2 กรณี 1. กองทุนตำบล จัดสรรเมื่อมีการลงนามในข้อตกลง (ก.ย.-ต.ค.51) จัดสรรงวดเดียว 37.50 บาท/ปชก. ตามที่แจ้งจาก สสจ. 2. จัดสรรให้หน่วยบริการ/สถานพยาบาล ตามยอดงบประมาณที่แจ้ง โดยแบ่งจัดสรร เป็น 2 งวด ดังนี้ 2.1 งวดแรก โอนล่วงหน้า 50% ภายใน ต.ค. 2551 2.2 งวดที่ 2 โอน 50% ภายใน ม.ค. 2552

P&P Area - based วัตถุประสงค์ 1. แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 2. สนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญ โดยเฉพาะ - การตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูก - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงและติดตามต่อเนื่องในกลุ่ม Pre DM. , Pre HT. , ภาวะอ้วน 3. พัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงาน 4. พัฒนานวัตกรรมระบบบริการ P&P 5. กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน P&P ในพื้นที่

โครงสร้างการจัดสรรงบ PP Area based ( 31.00 บาท/ปชก.) 30 % ระดับเขต 9.30 บาท/ปชก. 70 % ระดับจังหวัด 21.70 บาท/ปชก. สนับสนุนพัฒนาระบบบริการ~ 2 บาท/ปชก. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 7.30 บาท/ปชก. เพื่อจัดบริการและแก้ไขปัญหาตามแผนงาน/โครงการ ของคณะกรรมการระดับจังหวัด โดยปี 52 ให้เน้นหนัก - แก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ระดับจังหวัด อำเภอ - ตรวจหามะเร็งปากมดลูก -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน - สนับสนุนและแก้ไขปัญหาให้บรรลุเป้าหมายตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด -พัฒนาระบบ -พัฒนาศักยภาพฯ -นวตกรรม /แก้ไขปัญหาระดับเขต -สร้างแรงจูงใจ

แนวทางการจัดสรรงบ P&P Area - based จัดสรรให้ สปสช. สาขาจังหวัด และ สปสช. สาขาเขตพื้นที่ กทม. เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยบริการ งวดที่ 1 จัดสรร 30% งวดล่วงหน้า (ต.ค. 51) งวดที่ 2 จัดสรร 60% (ม.ค.52) สปสช. เขตได้รับการแจ้งแผนจาก สปสช. จังหวัดภายในเดือน ธ.ค. 51 งวดที่ 3 จัดสรร 10 % (มิ.ย.52) เมื่อ สปสช.เขตได้รับรายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน (ต.ค. 51- มี.ค. 52) จาก สปสช.จังหวัด ภายใน พ.ค. 52 ให้มีการรายงานผลรอบ 9 และ 12 เดือน ภายใน ส.ค. และ ต.ค. 52 ตามลำดับ

ห้ามใช้งบประมาณ - การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง - ดำเนินกิจกรรมที่เป็นการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ - การจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง (ยกเว้นงบ P&P Area – based ให้เสนอ อปสข. พิจารณาให้ความเห็นชอบในกรณีครุภัณฑ์ที่จำเป็น ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10% ของงบฯที่ได้รับ) - การจัดการใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

Influenza Vaccine วัตถุประสงค์ - ลด Mortality & Morbidity จากโรคไข้หวัดใหญ่ - ลด Cost การรักษาพยาบาลจากโรคแทรกซ้อน - ลดการแพร่กระจายเชื้อระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ กับ ผู้ป่วย - ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก เป้าหมาย 52 - ทุกกลุ่มอายุ ที่มีโรคเรื้อรังที่สำคัญ 7 โรค ได้แก่ Asthma, COPD, HD, CKD, DM, CVD, CA on chemotherapy จำนวน 1.8 ล้าน

กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำแผนการรณรงค์ในพื้นที่ ประสานออกใบนัดหมาย มค.-15 มีค.52 ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน ก.พ.52 GPO. จัดส่งวัคซีนแก่หน่วยบริการผ่านระบบ VMI 1 – 15 มิ.ย.52 รณรงค์ให้วัคซีน (กำหนดวันรณรงค์ใหญ่ทั่วประเทศ 23มิ.ย.52) 22 มิ.ย.– 31 ก.ค.52 บันทึกข้อมูลผลการบริการวัคซีน ภายใน 30 ก.ย.52 กำกับ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ก.ค.-ก.ย.52 สรุปผลการดำเนินงาน ภายใน ต.ค.52

การกำกับติดตามและประเมินผล ระบบข้อมูลและรายงานสำหรับการติดตามการดำเนินงาน - 18 แฟ้ม , 12 + 8 แฟ้ม - e - claim - Sealant Program - โปรแกรมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก - โปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง (PPIS) - โปรแกรมวัคซีนไข้หวัดใหญ่ - 0110 รง. 5 - รายงานสถานการณ์การเงิน PP – Area based ระดับจังหวัด และงบ Non – UC (คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) - Composite Indicators และ E - inspection

Composite Indicators วัตถุประสงค์ 1. เป็นเครื่องมือในการกำกับติดตามประเมินผลและพัฒนาการดำเนินงาน P&P ในระดับพื้นที่ 2. เป็น Tracer index แสดงภาพรวมกิจกรรมการบริการ P&P ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพฯ 3. มีระบบ Feedback เพื่อการวางแผนและพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง 4. ไม่เป็นภาระที่เพิ่มขึ้นจากระบบสารสนเทศหรือรายงานปกติเดิมที่มี

Composite Indicators 1. อัตราความครอบคลุมประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง 2. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค DM. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรค HT. ที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีระดับ BP. อยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 4.1 อายุ 1 ปี (Measles/MMR) 4.2 อายุ 3 ปี (JE3) 4.4 อายุ 5 ปี (DPT5) 5. อัตราความครอบคลุมสตรีอายุ 35,40,45,50,55,60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

Composite Indicators 6. ร้อยละสตรีที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกผิดปกติ ได้รับการตรวจรักษาตามแนวทางการส่งต่อ 7. ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามกลุ่มเป้าหมาย 8. ร้อยละ นร. ป. 1 ที่มีปัญหาร่องฟันลึกได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 9. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์ 9.1 ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ < 12 สัปดาห์ 9.2 ได้รับกรตรวจเชื้อ HIV 9.3 ได้รับการตรวจ Thalassemia 10. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

Composite Indicators 11. ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในเขตพื้นที่ สปสช. 12. ตัวชี้วัดการดำเนินงานของคณะกรรมการระดับจังหวัด 12.1 ร้อยละของจังหวัดที่มีการจัดทำแผนบูรณาการด้านส่งเสริมป้องกันทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ 12.2 ร้อยละของงบพัฒนาศักยภาพงานส่งเสริมป้องกันจากงบ PPA ที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด 12.3 ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาด้านส่งเสริมป้องกันในจังหวัด

ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

ขอบคุณครับ