ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง มีฟิล์มเสียในระหว่างการถ่ายภาพรังสี ต้องถ่ายภาพรังสีใหม่ ไม่มีการเก็บผลมาวิเคราะห์ GOAL ปริมาณฟิล์มเสียลดลงและอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
การวางแผน (Planing) ปัญหา (Problem) สาเหตุ (Cause) เกิดฟิล์มเสีย ไม่มีการเก็บข้อมูล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุ และดำเนินการปรับปรุงแก้ไข สาเหตุ (Cause) เจ้าหน้าที่ขาดทักษะ ผู้รับบริการไม่ให้ความร่วมมือ การสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
การวางแผน (Planing) ปัญหา เกิดฟิล์มเสีย ไม่มีการเก็บข้อมูล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและดำเนินการปรับปรุงแก้ไข สาเหตุ 1.เจ้าหน้าที่ขาดทักษะ 2.ผู้รับบริการไม่ให้ความร่วมมือ 3.การสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
แนวทางแก้ไข 1. ประชุมบุคลากรภายในหน่วยงาน 2 แนวทางแก้ไข 1.ประชุมบุคลากรภายในหน่วยงาน 2.ทำแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลฟิล์มเสีย 3.กำหนดตัวชี้วัด 4.นำข้อมูลในระยะเวลาที่กำหนดมาวิเคราะห์
การปฏิบัติ(DO). ข้อมูล 3 เดือนแรก เดือน มิถุนายน-สิงหาคม พ. ศ. 2545
สาเหตุฟิล์มเสียที่สำคัญ 3อันดับแรกคือ 1. มีรอยนิ้วมือบริเวณขอบฟิล์ม 2 สาเหตุฟิล์มเสียที่สำคัญ 3อันดับแรกคือ 1. มีรอยนิ้วมือบริเวณขอบฟิล์ม 2. ภาพไหว 3.การจัดท่าผู้ป่วยไม่ตรงกับส่วนที่แพทย์ต้องการดู แนวทางแก้ไข 1. ประชุมบุคลากรในหน่วยงาน 2. ทบทวนวิชาการเกี่ยวกับงานรังสี
ผลการดำเนินงานระยะที่ 2 เดือนตุลาคม 2545 - เดือนกันยายน 2546 จำนวนฟิล์มที่ใช้ 4,716 แผ่น มีฟิล์มเสีย 45 แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย 0.95 % เดือนตุลาคม 2546 - เดือนกันยายน 2547 จำนวนฟิล์มที่ใช้ 4,513 แผ่น มีฟิล์มเสีย 113 แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย 2.50 % เดือนตุลาคม 2547 - เดือนธันวาคม 2547 จำนวนฟิล์มที่ใช้ 1,934 แผ่น มีฟิล์มเสีย 20 แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย 1.03 %
จากการดำเนินงาน งานรังสีได้ประชุมภายในหน่วยงานเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานดังนี้ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทุกเดือน เพื่อนำปัญหาที่พบมาปรับปรุงแก้ไขได้รวดเร็วทันต่อเวลา ปรับปรุงตัวชี้วัดจากเดิม ตั้งเป้าไว้ที่ 5 % ปรับปรุงเป็น 3 % และมีการพัฒนาให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง
รายการบันทึก
สาเหตุสำคัญของฟิล์มเสีย 3 อันดับแรก 1. ฟิล์มดำ/ขาวเกินไป 2. ภาพไหว 3 สาเหตุสำคัญของฟิล์มเสีย 3 อันดับแรก 1. ฟิล์มดำ/ขาวเกินไป 2. ภาพไหว 3. มีสิ่งแปลกปลอม
แนวทางแก้ไข 1. ปรับปรุงเทคนิคการให้Exposureอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2
การตรวจสอบ(Check) อัตราฟิล์มเสียอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ ปัจจุบันไม่เกิน3% ดลระบบ(Act) 1. มีอัตราฟิล์มเสียลดลงเป็นการทบทวนการใช้ทรัพยากรเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเฝ้าระวังโดยการเก็บข้อมูลต่อไปเพื่อให้มีฟิล์มน้อยที่สุดหรือไม่มีต่อไป 2. ผู้ป่วยไม่ต้องฟิล์มซ้ำ ทำให้ได้รับปริมาณรังสีน้อยลง 3. มีการนำความรู้ทางวิชาการมาใช้ในการปฏิบัติงานมากขึ้น ซึ่งถือได้ว่ามีการทบทวนความรู้ทางวิชาการควบคู่กันไป 4.ทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดฟิล์มเสีย และสามารถปรับปรุงแก้ไขได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์