มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 2
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
จังหวัดลำปาง. จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก.
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กิจกรรมอาสาสมัคร “รักน้ำ” กิจกรรมขุดลอกแหล่งน้ำธรรมชาติห้วยหลุมพี
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
Greenergy Health We Care บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
ความร่วมมือกับกรมการปกครอง
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เอกสารประกอบการประชุมหัวหน้าส่วนราชการจังหวัดเชียงใหม่ โครงการนำร่อง-การขยายผลสู่การเรียนรู้มลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ ในพื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ความเป็นมา จากผลการดำเนินงานสัมมนา การขยายผลการวิจัยมลพิษทางอากาศและหมอกควัน ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา ณ โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว จ.เชียงใหม่ โดยได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล เป็นประธาน ได้รับความสนใจจากหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมสัมมนาเป็นจำนวนมาก ซึ่งทางอำเภอพร้าว นำโดย นายประกาศิต มหาสิงห์ ท่านนายอำเภอ ได้เสนอให้มีการจัดทำโครงการนำร่องในพื้นที่ของอำเภอพร้าว เพื่อให้เป็นอำเภอต้นแบบในการลดปัญหามลพิษ หมอกควันร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะทำงาน ที่ปรึกษาโครงการ คณะทำงานจากอำเภอพร้าว นายประกาศิต มหาสิงห์ นายแพทย์สมิต ศมพันธุ์พงศ์ นายอำเภอพร้าว ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพร้าว พ.ต.อ.ปิยะพันธ์ ภัทรพงศ์สินธุ์ นายชวลิต สาทช้าง ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรพร้าว สาธารณสุขอำเภอพร้าว คณะทำงานจากอำเภอพร้าว อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ภาคเอกชน ภาคประชาชน

คณะทำงานด้านวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดร.ทิพวรรณ ประภามณฑล สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ (หัวหน้าคณะทำงาน) อ.ไพสิฐ พาณิชย์กุล คณะนิติศาสตร์ ผศ.นพ.สมรัก รังคกูลนุวัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ ผศ.ดร.สมพร จันทระ คณะวิทยาศาสตร์

คณะทำงานด้านวิชาการจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผศ.สุชาติ เกียรติวัฒนเจริญ คณะเทคนิคการแพทย์ นางสาวธัญภรณ์ เกิดน้อย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ นายสุรัตน์ หงษ์สิบสอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ นางอนงค์ศิลป์ ด่านไพบูลย์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่

“เมืองพร้าว-เมืองสงบ น่าอยู่ อากาศดี อาหารดี” วัตถุประสงค์ เพื่อขยายผลการเรียนรู้มลพิษทางอากาศและหมอกควันไปสู่ชุมชนในพื้นที่ต่างๆ ในอำเภอพร้าว เพื่อรณรงค์ให้อำเภอพร้าวมีคุณภาพอากาศดี ไม่มีมลพิษทางอากาศและหมอกควัน เป็นอำเภอต้นแบบ เพื่อใช้คุณภาพอากาศของอำเภอพร้าวเป็นตัวชี้วัดใน การส่งเสริมการท่องเที่ยวของอำเภอพร้าว “เมืองพร้าว-เมืองสงบ น่าอยู่ อากาศดี อาหารดี”

1. นำเสนอผลการวิจัยของอำเภอพร้าวสู่สาธารณะและชุมชน โดยมีช่องทาง ดังนี้ กิจกรรมที่สำคัญ 1. นำเสนอผลการวิจัยของอำเภอพร้าวสู่สาธารณะและชุมชน โดยมีช่องทาง ดังนี้ นำเสนอข้อมูลเป็นระยะ (ทุกเดือน) ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการประจำเดือน ให้ความรู้ อบรมผ่านกลุ่มอสม.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้สู่หมู่บ้านต่างๆ ประสานงานกับสถาบันการศึกษา โรงเรียนในอำเภอพร้าว ในการร่วมมือร่วมใจรณรงค์ลดมลพิษฝุ่นและหมอกควัน 2. การติดตั้งเครื่องวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ แบบต่อเนื่อง (REAL TIME) ระยะเวลาดำเนินงาน 6 เดือน (มิถุนายน ถึง พฤศจิกายน 2554)

กิจกรรมในโครงการ ติดตั้งเครื่องวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ หน้าที่ทำการอำเภอพร้าว เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2554 เป็นต้นมา

กิจกรรมในโครงการ การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์อำเภอต้นแบบลดมลพิษฝุ่นควัน

มาตรฐานคุณภาพอากาศของประเทศไทย 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มาตรฐานคุณภาพอากาศองค์การอนามัยโลก 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

สิ่งที่ได้คาดว่าจะได้รับ (1) โครงการนี้ มีความโดดเด่น เพราะเกิดขึ้นจากความต้องการของชุมชน โดยนายอำเภอพร้าว (นายประกาศิต มหาสิงห์) เสนอตัวต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อให้เข้าไปทำวิจัยร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาหมอกควัน

สิ่งที่ได้คาดว่าจะได้รับ (2) เกิดความร่วมมือจากหลายภาคส่วน อาทิ สถานีตำรวจภูธรอำเภอพร้าว (พ.ต.อ.ปิยะพันธ์ ภัทรพงศ์สินธุ์) และโรงพยาบาลพร้าว (นายแพทย์สมิต ศมพันธุ์พงศ์ ) และขยายต่อไปยังหัวหน้าส่วนราชการท้องถิ่น และเอกชน เพื่อทำงานร่วมกันกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เพื่อพัฒนาต่อไปให้เมืองพร้าว เป็นเมืองต้นแบบของการลดมลพิษฝุ่นและหมอกควันอย่างยั่งยืน อำเภอพร้าวเป็น ... “เมืองพร้าว-เมืองสงบ น่าอยู่ อากาศดี อาหารดี”