จังหวัดนครปฐม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบข้อมูล การจัดทำรายงาน และแผนการสนับสนุน.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
กรณีความเสี่ยง DMSc.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดนครปฐม

ปัญหาและอุปสรรค นโยบายไม่ชัดเจน ผู้บริหารทุกระดับไม่ให้ความสำคัญและไม่ให้การสนับสนุน งบประมาณ บุคลากร

1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.1 คณะกรรมการต้องมาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานทางสุขภาพ โดยเฉพาะ อปท. อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน ถ้าคณะกรรมการมาจากทุกภาคส่วน การขอความร่วมมือจะง่ายขึ้น - คณะกรรมการ คปสอ. มีไม่ครบทุกภาคส่วน - คณะกรรมการหัวหน้าส่วนอำเภอ ไม่ครบทุกภาคส่วน - ตั้งคณะกรรมการการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

1.2 มีการประชุมของคณะกรรมการฯ - การกำหนดการประชุม ไตรมาสละครั้ง(4ครั้ง/ปี) - การประชุมคณะกรรมการฯ ควรกระทำเมื่อจำเป็น การประชุมบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น จะทำให้ขาดความสนใจ ผู้ร่วมประชุมน้อย - การประชุมทุกภาคส่วนต้องมีเบี้ยประชุม หรือต้องมีงบประมาณสนันสนุนการดำเนินงาน ที่ต้องการตัดสินใจจากผู้เข้าร่วมประชุม 1.3 การประชุมมีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโรคและภัยสุขภาพฯ - การวิเคราะห์สถานการณ์ เมื่อกำหนดปัญหาได้แล้ว ต้องวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงให้คณะกรรมการรับทราบด้วย เพื่อหาแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยง

1.4 มีการติดตามผลการดำเนินงานตามมติการประชุมกรรมการฯ - การติดตามการประชุม ต้องให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายงาน มีส่วนร่วมในการนำเสนอความก้าวหน้า - การติดตามผลการดำเนินงาน ควรให้หน่วยงานระดับสูงเข้ามามีส่วนร่วมในการกระตุ้น หรือตรวจสอบ หรือให้ข้อเสนอแนะ เช่น สสจ. ท้องถิ่นจังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา

2. มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี 2.1 ระบบระบาดวิทยาที่สำคัญ คือ ระบบเฝ้าระวัง แต่ละอำเภอต้องแสดงให้ชัดว่ามีระบบเฝ้าระวังอะไรบ้าง ใครบ้างที่ต้องแจ้งเหตุการณ์และมีวิธีตอบสนองต่อเหตุการณ์นั้นอย่างไร 2.1.2 จะทำอย่างไร ให้การประเมินผลความทันเวลา สามารถย้อนกลับไปให้หน่วยที่ให้ข้อมูล เช่น รพสต. รพช. ได้ในทันที 2.1.3 การใช้เทคโนโลยี/คอมพิวเตอร์ มีการวิเคราะห์ข้อมูลและมีการนำเสนอข้อมูลให้คณะกรรมการสม่ำเสมอ - การวิเคราะห์ข้อมูลต้องทำได้ ทุกระดับ ทั้งในระดับอำเภอ รพช.และตำบล

2.1.4 การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ ต้องทำในทุกระดับ ตั้งแต่ ตำบล อำเภอ และจังหวัด 2.2 มีทีม SRRT ควรมีการประเมินทุกปี ปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งอาจประเมินโดยทีมจังหวัด 2.3 ความสามารถในการตรวจทางห้องปฏิบัติการบางครั้งขึ้นอยู่กับ ศักยภาพ/คุณวุฒิ ของเจ้าหน้าที่ ควรเพิ่มในระบบส่งต่อได้ ในพื้นที่ที่ไม่มีนักวิทยาศาสตร์การแพทย์

3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - การกำหนดแผนต้องเป็นปัญหาจริงๆ ถ้าปัญหาตรง/ใกล้ตัวจะได้รับความน่าสนใจ และความร่วมมือมาก 4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม - ขาดจัดเก็บหลักฐานที่เป็นปัจจุบัน อาจเก็บหลักฐานเป็นรูปถ่ายและบรรยายให้ทราบเหตุการณ์

สวัสดีค่ะ