การรายงานความก้าวหน้าในระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Thesis รุ่น 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
Creative Mind กลุ่ม 2.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
1 แบบวิจัย กิจกรรม ร้อยละร้อยละ สะสม 1. อนุมัติโครงการ จัดส่งโครงร่างเสนอ คกก. จริยธรรมวิจัย เมื่อวันที่... ได้รับอนุมัติเมื่อ วันที่ เริ่มดำเนินการ.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การเขียนรายงานการวิจัย
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรายงานความก้าวหน้าในระบบ Estimates ปี 2555

หลักการรายงานความก้าวหน้า สามารถบันทึกข้อมูลผลงานหลังดำเนินการเสร็จในแต่ละกิจกรรมของโครงการ โดยไม่ต้องรอให้ถึงสิ้นเดือน หรือสิ้นไตรมาส ควรรายงานตามผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง ไม่ใช่ รายงานผลตามที่คาดว่าจะเกิดขึ้นล่วงหน้า ร้อยละความก้าวหน้าของการดำเนินงานที่ได้จริง (ควรกำหนด % ความก้าวหน้าตามแนวทางของกรมฯ) ระบุสาระสำคัญของผลการดำเนินงานให้ชัดเจน ครบถ้วน ทำอะไร (Action) กับกลุ่มเป้าหมายใด ที่ไหน เมื่อไหร่ และผล (output) ที่สอดคล้องกับเป้าหมายเป็นอย่างไร รวมทั้งปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต - ผลการดำเนินงานและร้อยละของการดำเนินงาน จะเป็นยอดสะสมในไตรมาสต่อไป - ในกรณีที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติโครงการในระบบ จะไม่ ปรากฏชื่อโครงการในเมนูนี้ ผู้ใช้งานต้องติดต่อเพื่อขอ สถานะอนุมัติโครงการจากผู้ดูแลระบบของกองแผนงาน ก่อน JKS

กำหนดความก้าวหน้าของการดำเนินงาน

การนับและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน กิจกรรม ร้อยละ ร้อยละสะสม โครงการวิจัย 1. ผู้บริหารลงนามอนุมัติในโครงการ 10 2. เริ่มดำเนินการ 20 30 3. เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูล 40 70 4. เสร็จสิ้นโครงการ (ได้ Abstract / Summary report /รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) จัดพิมพ์รายงาน / เผยแพร่ให้ไปใคร...) 100

การนับและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน (ต่อ) กิจกรรม ร้อยละ ร้อยละสะสม พัฒนารูปแบบ / มาตรฐาน / แนวทาง / คู่มือ / หลักสูตร 1. ผู้บริหารลงนามอนุมัติในโครงการ 10 2. รวบรวม สืบค้นข้อมูลทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพัฒนารูปแบบ / มาตรฐาน / แนวทาง / คู่มือ / หลักสูตร 20 3. กำหนดผังการดำเนินงาน 5 25 4. แต่งตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญและคณะทำงานเพื่อจัดทำมาตรฐาน/แนวทาง 30 5. ประชุม คณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญเพื่อจัดทำ (ร่าง) เอกสารรูปแบบ /มาตรฐาน/คู่มือ/แนวทาง/หลักสูตร 50 6. ประเมินผลมาตรฐานและเกณฑ์ชี้วัดและประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญพิจารณาแก้ไขฉบับร่าง 60 7. ทดสอบเอกสาร/คู่มือ/แนวทาง ประเมินมาตรฐานรวมทั้งเกณฑ์ชี้วัด 15 75 8. ปรับปรุง เอกสาร/คู่มือ/แนวทาง 85 9. จัดทำต้นฉบับ (รายงานฉบับสมบูรณ์ หรือบทสรุปข้อเสนอเชิงวิชาการสำหรับผู้บริหาร (คำแนะนำ / Recommendation) 95 10 พิมพ์เผยแพร่เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 100 **หากเป็นโครงการต่อเนื่อง ให้ปรับร้อยละความก้าวหน้าตามความเหมาะสม**

การนับและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน (ต่อ) กิจกรรม ร้อยละ ร้อยละสะสม โครงการพัฒนาองค์ความรู้ 1. ผู้บริหารลงนามอนุมัติในโครงการ 10 2. ทบทวนวรรณกรรม/ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหรือการพัฒนาระบบงาน จัดทำเอกสารประกอบการดำเนินการพัฒนาความรู้ 15 25 3. ประสาน ผู้เชี่ยวชาญ คณะทำงาน หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง / ประชุมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ 40 4. เก็บรวบรวม และวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล 20 60 5. ทบทวน/ปรับปรุงผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลจากการดำเนินงาน 80 6. จัดทำรายงานผลการศึกษา ต้นฉบับ (รายงานฉบับสมบูรณ์ หรือบทสรุปข้อเสนอเชิงวิชาการสำหรับผู้บริหาร (คำแนะนำ / Recommendation) หรือ รายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ 95 7. เผยแพร่เพื่อนำผลที่ได้ไปใช้ในการบริหารด้านการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5 100

การนับและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน เครือข่าย ขั้นตอนที่ กิจกรรม ร้อยละ ร้อยละสะสม 1 ผู้บริหารลงนามอนุมัติในโครงการ 5 2 กำหนดเป้าหมายเครือข่าย /กำหนดการทำงานเพื่อบูรณาการพัฒนาเครือข่ายร่วมระหว่างกลุ่มงาน 10 3 ประสานงาน /ประชุมชี้แจง ถ่ายทอดแนวทาง/ อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลกรของหน่วยงานและเครือข่าย 15 25 4 ดำเนินการ ร่วมวิเคราะห์ปัญหา/วางแผน/จัดทำข้อตกลงร่วมกับเครือข่าย ดำเนินกิจกรรมร่วมกัน 20 45 นิเทศ ติดตาม/ ประเมินผล / สำรวจความพึงพอใจของหน่วยงานภาคีเครือข่าย จัดทำรายงานและแจ้งข้อมูลย้อนกลับ 65 6 จัดกระบวนการและเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 85 7 สรุปบทเรียนเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการพัฒนาภาคีเครือข่าย และวางแผนปฏิบัติงานในปีต่อไป 100

แนวทางการรายงานผลงาน

แบบวิจัย / พัฒนาองค์ความรู้ จัดส่งโครงร่างเสนอคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย เมื่อวันที่.... ได้รับอนุมัติเมื่อวันที่.... ประชุมทีมงาน ประกอบด้วย / เมื่อใด / เตรียมเครื่องมือ / ทดลงเครื่องมือ ทบทวนองค์ความรู้อย่างไร หรือเก็บข้อมูล หรือทำการประเมิน.... ทดสอบคู่มือ / มาตรฐาน / มาตรการ อย่างไร กี่ครั้ง ผลเป็นอย่างไร.... ต้องปรับปรุงอะไร.... ถ่ายทอดให้ใคร เผยแพร่อย่างไร

แบบประชุม อบรม สัมมนา การประชุมครั้งที่...... / รุ่นที่...... ชื่อประชุม...... วันที่.... เดือน.... พ.ศ. ..... (จำนวนชั่วโมงที่ให้ความรู้....) สถานที่จัดประชุม...... จังหวัด...... วัตถุประสงค์ของการประชุมแต่ละครั้ง (ในกรณีที่ไม่มีเขียนไว้เดิม เช่น ประชุมราชการ หรือแตกต่างจากที่กำหนดไว้เดิม) ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย จำนวนคนเข้าร่วมประชุม มีวิธีการวัดผลโครงการ โดย..... สรุปประโยชน์และผลสัมฤทธิ์ที่ได้รับจากการประชุม

แบบสร้างเสริมสุขภาพ การบริการ (เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค) ให้ระบุประเภทและจำนวนของผู้รับบริการ หรือพื้นที่ออกไปดำเนินการ การนิเทศ ประเด็นการนิเทศ ผู้รับการนิเทศ วัน เวลา สถานที่ ผลการดำเนินงานตามประเด็นการนิเทศ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศ เรื่องที่ต้องไปประสานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง การสนับสนุน ควรระบุกิจกรรมที่สนับสนุนให้ชัดเจนว่าทำอะไร เพื่อให้ใคร ได้ประโยชน์อะไร โดยควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ

แบบเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สื่อในการประชาสัมพันธ์ ชื่อรายการ จำนวน (ครั้ง หรือ นาที หรือคอลัมน์ อัตราค่าใช้จ่ายต่อครั้ง) ช่วงเวลาดำเนินการ * วิทยุ / โทรทัศน์ จำนวนครั้ง เวลาที่ออกอากาศ จำนวนนาที จำนวนวัน หรือช่วงในรายการ * หนังสือพิมพ์ / นิตยสาร จำนวนคอลัมน์ ช่วงเวลา เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน กลุ่มเป้าหมายผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร รับสื่อ หรือกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมกิจกรรมรณรงค์ (บอกสถานที่ วันที่จัดงานด้วย) วิธีการวัดผลโครงการ สื่ออื่นๆ ระบุตามความเหมาะสม ควรแสดงถึงจำนวนความถี่ที่ดำเนินการ อัตราค่าใช้จ่ายของแต่ละครั้ง