การวัดและประเมินผลผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
หน่วยที่ 4.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การศึกษารายกรณี.
แผนการจัดการเรียนรู้
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การประเมินผลการเรียน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
หน่วย การเรียนรู้.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
(Competency Based Curriculum)
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
การสร้างสื่อ e-Learning
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลผู้เรียน

1. การประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีแนวปฏิบัติดังนี้ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ (รายภาค/รายปี) โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ระดับช่วงชั้น กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวัง/วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้รายภาค/รายปี

3. กำหนดเกณฑ์ตัดสินในการผ่านผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 4. กำหนดเกณฑ์การประเมินในการให้ระดับผลการเรียนรู้ 5. ประเมินผลระหว่างเรียน และตัดสินผลการเรียนรู้รายภาค/รายปี และประเมินสรุปผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ (ผ่านช่วงชั้น)

แนวการประเมิน ต้องยึดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่คาดหวัง/วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นเป้าหมายในการประเมิน ประเมินผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการประเมินตามสภาพจริง ตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยประมวลจากผลการประเมินระหว่างเรียน ผลงาน แบบทดสอบต่าง ๆ แล้วตัดสินตามเกณฑ์ที่กำหนด

4. รายงานผลการประเมินที่เป็นไปตามระเบียบของสถานศึกษา (เกรด) 5. ซ่อมเสริมผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ หรือเรียบซ้ำ 6. สถานศึกษาสะสมผลการเรียนแต่ละรายวิชา และอนุมัติผู้เรียนที่ผ่านตามเกณฑ์การจบช่วงชั้นให้ผ่านช่วงชั้น

2. การประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีแนวปฏิบัติดังนี้ กำหนดจุดประสงค์การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดเกณฑ์ตัดสินการผ่านกิจกรรมตามจุดประสงค์ที่กำหนด ประเมินผลระหว่างร่วมกิจกรรม ตัดสินผลการผ่านกิจกรรมและสรุปผลการเรียน ซ่อมเสริมผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน

มีแนวการประเมินดังนี้ สถานศึกษากำหนดจุดประสงค์ของแต่ละกิจกรรม และเกณฑ์การผ่านกิจกรรม อาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมเป็นผู้ประเมินและตัดสินผลเป็นรายกิจกรรม อาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมประเมินผู้เรียนระหว่างปฏิบัติกิจกรรมและสิ้นสุดกิจกรรม ด้วยเทคนิควิธีที่หลากหลาย

4. ประมวลผลการประเมินและตัดสินผลการผ่านกิจกรรมตามเกณฑ์ ซ่อมเสริมผู้เรียนที่ไม่ผ่านกิจกรรม จนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสะสมผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อการอนุมัติให้ผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินได้ผ่านช่วงชั้น

3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีแนวปฏิบัติดังนี้ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา กำหนดแนวทางการประเมินและเกณฑ์การประเมินแต่ละคุณลักษณะ ดำเนินการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ดำเนินการประเมินผลผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ สรุปผลการประเมินผู้เรียนที่มีพัฒนาการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดีขึ้น และให้ผ่านเกณฑ์การผ่านช่วงชั้น ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ เข้ารับการอบรม หรือทำกิจกรรมต่าง ๆ จนผ่านเกณฑ์การประเมิน

4. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ มีแนวปฏิบัติดังนี้ กำหนดมาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความของสถานศึกษา กำหนดเกณฑ์การประเมิน กำหนดวิธีการประเมิน ดำเนินการประเมินตามแนวทางที่กำหนด สรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ และตัดสินการผ่านช่วงชั้น ซ่อมเสริมผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ จึงจะได้รับอนุมัติผ่านช่วงชั้น

การประเมินในชั้นเรียน ประเมิน 3 ระยะคือ ประเมินผลก่อนสอน ตรวจสอบภาวะความพร้อม ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน หรือตรวจสอบความรู้ที่จำเป็นก่อนเริ่มเรียนรู้เนื้อหาใหม่ เช่น การสอบคัดเลือก การสอบเพื่อปรับพื้นฐาน การวัดความพร้อม เป็นต้น ประเมินผลระหว่างสอน เป็นการวัดและประเมินเมื่อผู้เรียนเรียนจบในแต่ละเนื้อหา หรือแต่ละบท เพื่อสำรวจความรู้ว่าเรียนรู้ไปได้มากน้อยเพียงใด เพื่อการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องก่อนจะจบภาค

3. ประเมินผลหลังสอน เป็นการวัดและประเมินหลังสิ้นสุดการสอนในแต่ละรายวิชา เป็นการประเมินผลรวมของทั้งรายวิชา ว่าได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ของแต่ละกลุ่มสาระหรือไม่

โดยปกติการประเมินชั้นเรียน ครูผู้สอนจะประเมิน ความรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ