การแยกตัวประกอบพหุนาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
Chapter 2 Root of Nonlinear Functions
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เทคนิค การเติมเต็ม พลังชีวิตให้สำเร็จ 100%
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
WorkShop I (10 points) ค้นหาข้อมูลบน Internet ทำเป็นชิ้นงานส่งมา ทาง – เลขที่ 1-5 ความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ – เลขที่ 6-10 กระบวนการผลิตสารสนเทศ.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
อัลกอริทึมแบบละโมบ.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
กำหนดการพลวัต (Dynamic programming)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแยกตัวประกอบพหุนาม

- การแยกตัวประกอบของพหุนามใช้สมบัติการแจกแจง สมบัติการแจกแจง ac + ac = a ( b + c ) ตัวอย่าง 3x4 - 5x3 + 2x2 = x2 ( 3x2 - 5x + 2 ) หรือ 14x5 ( m + n ) + 7x3 ( m + n )2 = 7x3 ( m + n )( 2x2 + m + n )

- การแยกตัวประกอบของพหุนามในรูป ax2+bx+c ตัวอย่างเช่น x2 - 19x + 48 = ( x - 3 )( x - 16 ) หรือ 20x2 + 13x - 21 = ( 4x - 3 )( 5x + 7 )

-การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้ผลต่างกำลังสอง สูตร >> หน้า2 - หลัง2 = ( หน้า - หลัง )( หน้า + หลัง ) ตัวอย่างเช่น 4 ( 3x - 4y )2 - 9 ( x - 2y )2 = [ 2( 3x - 4y ) ]2 - [ 3( x - 2y ) ]2 = [ 2( 3x - 4y ) - 3( x - 2y ) ][ 2( 3x - 4y ) + 3( x - 2y )] = [6x - 8y - 3x + 6y ][ 6x - 8y + 3x - 6y ] = ( 3x - 2y )( 9x - 14y )

-การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ สูตร >> หน้า2 + 2 (หน้า)(หลัง) + หลัง2 = ( หน้า + หลัง ) 2 หน้า2 - 2 (หน้า)(หลัง) + หลัง2 = ( หน้า - หลัง )2 ตัวอย่างเช่น 1. x2 + 8x + 16 = x2 + 2 ( 4 ) x + 42 = ( x + 4 )2 2. x2 - 8x + 16 = x2 - 2 ( 4 ) x + 42 = ( x - 4 )2

-การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสาม สูตร >> หน้า 3 + หลัง 3 = ( หน้า + หลัง )( หน้า 2 - หน้าหลัง +หลัง2 ) หน้า 3 - หลัง 3 = ( หน้า -หลัง )( หน้า2 + หน้า หลัง + หลัง2 ) ตัวอย่างเช่น 1. 125 + 8x 3 = 5 3 + (2x) 3 = ( 5 + 2x )( 25 - 10x + 4x 2) 2. 125 - 8x 3 = 5 3 - (2x) 3 = ( 5 - 2x )( 25 + 10x + 4x 2)

-การแยกตัวประกอบโดยการจับคู่หรือจัดพจน์ใหม่ ตัวอย่างเช่น 1. m2 + n2 - 4m - 4n + 2mn - 96 = ( m2 + 2mn + n2 ) - 4 ( m + n ) - 96 = ( m + n)2 - 4 ( m + n ) - 96 = [ ( m + n ) - 12 ][ ( m +n +8 ] = ( m+ n - 12 )( m + n + 8 )

แบบทดสอบ o(:_:)o

1. (a+b)2-5a-5b+6 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด ? ตัวเลือก 1. ( a - b + 2 )( a - b + 3 ) 2. ( a + b - 2 )( a + b - 3 ) 3. ( a + b + 2 )( a + b + 3 ) 4. ( a + b - 6 )( a + b - 1 )

คำตอบของข้อที่ 1 ตอบว่า 2. (a+b-2)(a+b-3) วิธีทำ 1. (a+b)2-5a-5b+6

2. X2y2 - 1 - x2 + y2 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด ? ตัวเลือก 1. ( x2 + 1 ) ( y2 + 1 ) 2. ( x2 - 1 ) ( y2 + 1 ) 3. ( x - 1 )( x + 1 ) ( y2 + 1 ) 4. ( y - 1 ) ( y + 1 ) ( x2 + 1 )

คำตอบของข้อที่ 2 คำตอบคือ 4. ( y - 1 )( y + 1 )( x2 + 1) วิธีทำ x2y2 - 1 - x2 + y2 = ( x2y2 - x2 ) + ( y2 - 1 ) = x2 ( y2 - 1 ) + ( y2 - 1 ) = ( y2 - 1 )( x2 + 1 ) = ( y - 1 )( y + 1 )( x2 + 1 )

3. ข้อใดเป็นการแยกตัวประกอบของ a(a+1)x2+(a+b)x-b(b-1) ตัวเลือก 1. ( ax + x - b + 1 )( ax - b ) 2. ( ax + x - b + 1 )( ax + b ) 3. ( ax + x + b - 1 )( ax + b ) 4. ( ax - a - 1 )( ax - x + a )

คำตอบของข้อ 3 คำตอบคือ 4. ( ax - a -1 )( ax - x + a ) วิธีทำ a( a + 1 ) x2 + x - a( a - 1 ) = [ ax - ( a + 1 ) ][ ( a - 1 ) x + a] = ( ax - a - 1 )( ax - x + a )