การวางผังของสถานประกอบการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การประยุกต์ใช้ Web VPN (SSL VPN)
การเขียนผังงาน.
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ADDIE model หลักการออกแบบของ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
Storage and Warehouse.
ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด
ระบบกลไก.
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
ระบบการผลิต ( Production System )
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept
(Transaction Processing Systems)
เครื่องดูดฝุ่น.
นำเสนอโดย นายวันชัย แซ่ลิ่ม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ต้นทุนการผลิต.
5 ส 5 ส คือ กระบวนการในการจัดสถานที่ทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยมุ่งเน้นที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการทำงาน และจิตสำนึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน.
ความใหม่ การจัดทำเพชรนำพา เป็นการนำหลักชลศาสตร์ มาเพื่อใช้ในการวัดความเร็วของกระแสน้ำ เพื่อใช้ในงานชลประทาน.
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนกำลังการผลิต
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
นายสมชาย มูลตุ้ย ผู้วิจัย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ทฤษฎีการผลิต.
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
ชื่อโครงการ Project สินค้าแฮนด์เมท.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางผังของสถานประกอบการ บทที่ 3 เนื้อหา วัตถุประสงค์ในการวางผังประกอบการ ประโยชน์การวางผังประกอบการ รูปแบบการวางผังประกอบการ หลักเกณฑ์และขั้นตอนในการวางผังประกอบการ วัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้วัตถุประสงค์ในการวางผังประกอบการ เพื่อเรียนรู้ทราบประโยชน์ในการวางผังประกอบการ เรียนรู้การรูปแบบการวางผังประกอบการ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้การวางผังประกอบการ

3.1วัตถุประสงค์ในการวางผังของสถานประกอบการ บทที่ 3. 3.1วัตถุประสงค์ในการวางผังของสถานประกอบการ เพื่อลดระยะทางและเวลาในการเคลื่อนย้ายวัสดุ เพื่อช่วยทำให้วัตถุดิบได้ได้รวดเร็ว และขจัดปัญหาด้านการทำงานมากเกินไป เพื่อความสะดวกในการดำเนินงานโดยแบ่งเนื้อที่ในโรงงานได้อย่างเหมาะสม เช่น ช่องทางเดิน พื้นที่เก็บสินค้า พื้นที่พักวัตถุดิบ จุดปฏิบัติงาน ที่พักชิ้นงานที่เป็นสินค้าสำเร็จรูป เพื่อขจัดสิ่งรบกวน การสั่นสะเทือนของพื้นที่ ฝุ่นละออง ความร้อน กลิ่น การถ่านเทอากาศ เพื่อจัดแผนงานต่างๆ ให้ทำงานในกรอบความรับผิดชอบชัดเจน ให้เอื้อต่อกระบวนการผลิต และง่ายต่อการควบคุม เพื่อการจัดวางพื้นที่ให้มีประโยชน์อย่างเต็มที่ เพื่อลดความเสี่ยงต่อปัญหาด้านสุขภาพ และสร้างความปลอดภัยให้กับคนงาน

ภาพตัวอย่างการวางผังสถานประกอบการ ที่มา : www.oknation.net

ภาพตัวอย่างการวางผังสถานประกอบการ Ref: www.controlsforyou.com

Video Line Production Audi Q5 on the Production Line youtube.com http://www.youtube.com/watch?v=3WcIu4JBsPY

3.2 ประโยชน์ของการวางผังสถานประกอบการ มีความเร็วในการเคลื่อนย้ายสินค้า เพิ่มผลผลิตเพราะลดการสูญเสียระหว่างกระบวนการผลิต ช่วยวางแผนด้านพื้นที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ ให้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุด เพิ่มความสามารถในการแข่งขั้น ทั้งด้านเทคโนโลยี คุณภาพสินค้า ประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิต จัดเตรียมวางเครื่องจักรตามความต้องการผู้ปฏิบัติงาน ทำให้เกิดสมดุลในกระบวนการผลิต วัสดุไหลในกระบวนการผลิตอย่างสม่ำเสมอ เกิดความปลอดภัยในการทำงาน

3.2 ประโยชน์ของการวางผังสถานประกอบการ (ต่อ) 10. เกิดการใช้แรงงานได้มีประสิทธิภาพ 11. ลดเวลาในการทำงานของหน่วยผลิต 12. ใช้พื้นที่ได้เต็มที่ จัดวางระบบการผลิตในโรงงานได้มีประสะทธิภาพ 13. มองเห็นการปรับเปลี่ยนพื้นที่ในอนาคต ในการเตรียมการล่วงหน้า 14. ลดเวลาในการขนย้ายให้สั้นที่สุด 15. การขนย้ายวัตถุดิบระหว่างการผลิตจะลงทุนสูงมาก ถ้าจัดวางผังโรงงานที่ดีทำให้การขนย้ายในหน่วยผลิตใช้เวลาสั้นลง 16. ทุกคนมีส่วนร่วมในระบบการผลิตมีบรรยากาศในการทำงานที่ดี

3.3 รูปแบบการวางผังของสถานประกอบการ 3.3.1 การวางผังตามผลิตภัณฑ์

3.3 รูปแบบการวางผังของสถานประกอบการ 3.3.2 การวางผังตามกระบวนการผลิต (Process Layout)

3.3 รูปแบบการวางผังของสถานประกอบการ 3.3.3 การวางผังแบบคงที่ (Fixed Position Layout)

3.3 รูปแบบการวางผังของสถานประกอบการ 3.3.4 การวางผังแบบผสม (Hybrid Layout)

3.4 หลักเกณฑ์และขั้นตอนในการวางผังของสถานประกอบการ 3.4.1 หลักเกณฑ์ในการวางผัง 1. ความคล่องตัว 2. การประสานงานที่ดีที่สุด 3. ใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด 4. มองเห็นให้มากที่สุด 5. เข้าถึงได้ง่ายที่สุด 6. ระยะทางสั้นที่สุด 7. การเคลื่อนย้ายน้อยที่สุด 8. สภาพแวดล้อมการทำงานดีที่สุด 9. ความปลอดภัย 10. เคลื่อนย้ายวัสดุทางเดียว

3.4 หลักเกณฑ์และขั้นตอนในการวางผังของสถานประกอบการ 3.4.2 ขั้นตอนการวางผังโรงงาน 1. วางผังโรงงานขั้นต้น 2. วางผังโรงงานอย่างละเอียด 3. ติดตั้งเครื่องจักรตามที่วางไว้แล้ว

คำถามและกิจกรรมท้ายบทที่ 3 ให้นักศึกษาทำข้อ 1.,2. ทุกท่าน ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่มๆ 4 ท่าน (3 ท่าน 1 กลุ่ม) ทำงานกลุ่มตามกิจกรรมข้อที่ 5. เขียนชื่อสมาชิก รหัส วิชา ทั้งกลุ่มส่ง 1 งาน/กลุ่ม ให้เวลาในการทำงานกลุ่ม 30 นาที นักศึกษาทำรายงานในข้อที่ 7.