ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

คำบรรยายพิเศษพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2549 สพท.ขอนแก่น เขต 4 นายสายัณห์ ผาน้อย.
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประกันคุณภาพภายนอก
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
Self-Assessment Report
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายถึง
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนนวมราชานุสรณ์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 การประกันคุณภาพ ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 โดย ภราดาบัญชา แสงหิรัญ

เอกสารอ้างอิง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เอกสารของ สมศ. การประชุมในที่ต่างๆ การประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 มาตรา 47 : มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก

มาตรา 48 : การประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด มีระบบ ดำเนินการต่อเนื่อง จัดทำรายงานเสนอต้นสังกัด หน่วยเกี่ยวข้อง เปิดเผยสาธารณชน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ รองรับการประกันคุณภาพภายนอก

มาตรา 49 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา(สมศ.) พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก ประเมินผลการจัดการศึกษา ตรวจสอบคุณภาพ ความถี่ : อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี

มาตรา 50 สถานศึกษาให้ความร่วมมือ สมศ. เอกสาร บุคลากร

สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข มาตรา 51 สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.

หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 : ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การจัดการศึกษาต้องพัฒนาผู้เรียน

มาตรา 23 : การจัดการศึกษาเน้น … ความรู้ / คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการ

การจัดกระบวนการเรียนรู้ มาตรา 24 : การจัดกระบวนการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ / กิจกรรม ฝึกทักษะกระบวนการคิด จัดประสบการณ์จากประสบการณ์จริง จัดการเรียนแบบผสมผสาน จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม

หลักการ 1. มุ่งพัฒนาหน่วยงาน 2. ยึดหลักการและแนวทางการจัดการตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 3. คำนึงถึงความเป็นอิสระ (เสรีภาพ-หลักการ) 4. ดำเนินการเยี่ยงกัลยาณมิตร 5. เน้นการมีส่วนร่วม 6. เป็นธรรม มีข้อมูลจริง ตรวจสอบได้

วัตถุประสงค์ 1. ยืนยันสภาพจริง 2. ชี้จุดเด่น จุดด้อย ปัญหา เงื่อนไขความสำเร็จ 3. เสนอแนวทางปรับปรุง 4. ส่งเสริมให้หน่วยงานพัฒนาคุณภาพ 5. รายงานสาธารณชน

การดำเนินงานของหน่วยงาน แนวคิด การประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร มีระบบการประกันคุณภาพ ( PDCA) รายงานประจำปี

ขบวนการบริหาร มีแผน (Planning) มีการดำเนินตามแผน (มีการควบคุมกำกับ) มีการประเมิน มีการปรับแผน

การวางแผน มีแผนแก้ปัญหา มีแผนปฏิบัติการในรอบปี มีแผนยุทธศาสตร์ (ระยะยาว 5-15 ปี)

การควบคุมกำกับ การติดตามต้องเป็นรูปธรรม ห้วงเวลา สร้างรูปแบบในการติดตามงาน สาระในการติดตาม เปรียบเทียบความคาดหวังและความสำเร็จ นำผลมาปรับปรุงแก้ไข

รายงาน ทำรายงานประจำปี รายงานสิ่งที่เป็นผลต่อการพัฒนา สาระสำคัญมี 4 ส่วน (i) บทนำ : ประวัติ ข้อมูลเบื้องต้น (ii) สิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของหน่วยงาน เกี่ยวกับผู้บริหาร เกี่ยวกับบุคลากร เกี่ยวกับงาน

(iii) ผลการดำเนินงานในรอบปี คุณภาพของคนและงาน แผนงาน (ให้บุคคลภายนอกเห็นการทำงาน) (iv) ความมุ่งมั่นของหน่วยงาน รักษาสิ่งที่ดีให้ดีต่อไป และให้ดีกว่าเดิม มุ่งมั่นที่จะแก้ไขสิ่งที่ผิดหรือบกพร่อง (v) เอกสารอ้างอิง

การดำเนินงาน เตรียมการวางแผน ลงมือปฏิบัติ เตรียมรับการประเมิน เตรียมพัฒนาหลังประเมิน

การประเมิน สิ่งที่ไปประเมิน มีนโยบายและมีความตระหนัก (awareness) หรือไม่ ดูความพยายามในการจัดทำ (attempt) ดูความสำเร็จ (achievement)

ขั้นตอนการประเมินภายนอก การเขียนรายงานประเมินตนเอง (SAR) ขั้นตอนการตรวจเยี่ยมจากผู้ประเมิน - ก่อนตรวจเยี่ยม - ระหว่างตรวจเยี่ยม - หลังตรวจเยี่ยม

ผลสรุปของการตรวจเยี่ยม ( 3-4 ระดับ) ควรปรับปรุง ขั้นต่ำที่ยอมรับได้ คุณภาพดี คุณภาพดีมาก