เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรรม 2 สาย กรรมดำ กรรมขาว การฆ่า การฉ้อโกง การล่วงเกินสิทธิ์
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
การสร้างและพัฒนาวินัยในตนเอง
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
คุณธรรม 10 ประการ.
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
เด็กชาย บัณฑิต ทัพธานี ม.3/2 เลขที่ 2
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
ชีวิตเป็นกระบวนการ (Process) อันยืดยาว
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
โครงการคนเมืองเพชรทำความดีถวายพ่อหลวง
ผู้บริหารพบนักเรียน.
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
ธรรมวิภาค.
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
การบริหารจิต.
ครั้งที่ ๒.
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
การรู้สัจธรรมของชีวิต
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
                                                                                       
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
นางสาวพรพรรณ แก้วเรือง เลขที่ 24 นางสาวศุทธินี ใยบัว เลขที่ 33
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ

พุทธพจน์ “ สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ     สีลํ อาวุธมุตฺตมํ สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ     สีลํ กวจมพฺภุตํ. ศีล เป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด  ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์ ”   (สีลวเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘.

“ คือ ความปกติของมนุษย์ ” ศีล ๕ “เบญจศีล” “ คือ ความปกติของมนุษย์ ” ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ๒.อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ ไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓.กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากการพูดเท็จ ๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เว้นจากดื่มน้ำเมา คือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท

ทำไมต้องรักษาศีล ? ศีลข้อ ๑ เพราะ ใครๆ ก็รักชีวิตตัวเอง ศีลข้อ ๑ เพราะ ใครๆ ก็รักชีวิตตัวเอง  ศีลข้อ ๒ เพราะ ใครๆก็อยู่เป็นสุขได้ด้วยสมบัติของเขา ศีลข้อ ๓ เพราะ ใครๆ  ก็รักพี่น้องพวกพ้องของเขา ศีลข้อ ๔ เพราะ ใครๆ ก็รักความจริงใจด้วยกันทั้งนั้น ศีลข้อ ๕ เพราะว่าเมื่อดื่มเข้าไปแล้ว จะทำลายสติของเรา เมื่อสติของเราเสียหายไปแล้ว ศีลข้ออื่นๆ ก็พร้อม ที่จะขาดไปหมด

“ เว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ” องค์แห่งศีล ข้อที่ ๑ “ เว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ” ปาโณ สัตว์มีชีวิต ปาณสญฺญิตา รู้ว่าสัตว์มีชีวิต วธกจิตฺตํ มีจิตคิดจะฆ่า อุปกฺกโม ทำความพยายามฆ่า เตน มรณํ สัตว์ตายด้วยความพยายามนั้น

“เว้นจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ” องค์แห่งศีล ข้อที่ ๒ “เว้นจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ” ปรปริคฺคหิตํ ของนั้นมีเจ้าของหวงแหน ปรปริคฺคหิตสญฺญิตา รู้ว่ามีเจ้าของหวงแหน เถยฺยจิตฺตํ มีจิตคิดจะลัก อุปกฺกโม ทำความพยายามลัก เตน หรณํ นำของมาได้ด้วยความพยายามนั้น

“ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ” องค์แห่งศีล ข้อที่ ๓ “ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ” อคมนียวตฺถุ วัตถุที่ไม่ควรล่วงละเมิด ตสฺมึ เสวนจิตฺตํ มีจิตคิดจะเสพ เสวนปฺปโยโค พยายามที่จะเสพ มคฺเคน มคฺคปฺปฏิปตฺติ กระทำการให้มรรคต่อมรรคจดกัน

องค์แห่งศีล ข้อที่ ๔ “ เว้นจากการพูดเท็จ ” อตถํ เรื่องไม่จริง อตถํ เรื่องไม่จริง วสํวาทนจิตฺตํ จิตคิดจะพูดให้ผิด ตชฺโช วายาโม พยายามพูดออกไปตามจิตนั้น ปรสฺส ตตฺถวิชานนํ ผู้ฟังเข้าใจเนื้อความนั้น

“ เว้นจากการดื่มน้ำเมา ” องค์แห่งศีล ข้อที่ ๕ “ เว้นจากการดื่มน้ำเมา ” มทนียํ สิ่งที่เป็นเหตุให้มึนเมา (คือมีเหล้าเบียร์) ปาตุกมฺยตาจิตฺตํ จิตคิดจะดื่มหรือเสพ ตชฺโช วายาโม พยายามดื่มหรือเสพตามที่จิตคิดนั้น ปิตปฺปเสวนํ ดื่มน้ำเมาหรือเสพสารเสพติดนั้นเข้าไป

วิบากกรรมของการผิดศีลข้อ ๑ ฆ่าสัตว์ อายุสั้น

วิบากกรรมของการผิดศีลข้อ ๒ ลักทรัพย์ ทรัพย์สมบัติพินาศ

วิบากกรรมของการผิดศีลข้อ ๓ ประพฤติผิดในกาม ครอบครัวแตกแยก

วิบากกรรมของการผิดศีลข้อ ๔ โกหก โรคภายในช่องปาก

วิบากกรรมของการผิดศีลข้อ ๕ ดื่มน้ำเมา โง่เขลา, ปัญญาอ่อน

วิธีสร้างเกราะภายในตน “คือ การตั้งเจตนางดเว้น จากการประพฤติผิดทางกายและวาจา” ๑. งดเว้นโดยไม่ตั้งใจไว้ก่อน ๒. งดเว้นโดยตั้งใจและปฏิญาณไว้ก่อน ๓. งดเว้นด้วยตัดขาดได้

ธรรมที่เกื้อกูลต่อการรักษาศีล “ หิริ โอตตัปปะ ” “ หิริ ” ความละอายต่อบาป เกิดขึ้นด้วยการพิจารณาถึงฐานะของตนเอง “ โอตตัปปะ ” ความเกรงกลัวต่อบาป เกิดขึ้นได้ เพราะกลัวว่าตนเองจะเดือดร้อนในภายหลัง “ เมื่อมีหิริ และโอตตัปปะอยู่ ศีลก็เกิดขึ้น และตั้งอยู่ได้ เมื่อไม่มีหิริ และโอตตัปปะ ศีลก็ไม่เกิดขึ้น และตั้งอยู่ไม่ได้ ”

พระราชดำรัส ในพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า เมื่อวันจันทร์ที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๕ ความว่า “ ...คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษา และน้อมนำมาปฏิบัติมีอยู่สี่ประการ ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม ประการที่สอง คือ การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจความดีนั้น ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจิต ไม่ว่าจะด้วยเหตุประการใด ประการที่สี่ คือ การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละ ประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง”

คุณธรรม ๔ ประการ ๑. สัจจะ นิสัยความรับผิดชอบ “ ฆราวาสธรรม ” ๑. สัจจะ นิสัยความรับผิดชอบ ๒. ทมะ นิสัยรักการฝึกฝนตนเอง ๓. ขันติ นิสัยอดทน ๔. จาคะ นิสัยเสียสละ