การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
Advertisements

การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Advance Excel.
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 4 งบการเงิน.
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
งบลงทุน Capital Budgeting
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
Financial Management.
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
Definition and organization
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
มูลค่าเงินตามเวลา ( TIME VALUE OF MONEY )
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการบริการ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการผลิต.
เขื่อนปากชม.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน ตอนที่ 6 การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน

มูลค่าปัจจุบันและมูลค่าอนาคตในการตัดสินใจลงทุน การลงทุนและผลตอบแทนการลงทุนจะเกิดขึ้น ในเวลาหลายปี ปัญหาการวิเคราะห์จึงไม่สามารถ บวกต้นทุน และผลตอบแทนที่เกิดขึ้นในปีที่แตกต่าง กันเข้าด้วยกันได้

เนื่องจากมูลค่าเงินของการลงทุนและ ผลตอบแทนในปัจจุบันที่เรียกว่า “ มูลค่าปัจจุบัน ( Present Value : PV ) ” ย่อมมากกว่ามูลค่าเงินที่จะ ได้รับในอนาคตที่เรียกว่า มูลค่าอนาคต ( Future Value : FV )

มูลค่าปัจจุบัน ( PV ) = มูลค่าอนาคต ( FV ) 1 = 1 + i มูลค่าอนาคตเงินจำนวน 1 บาท จะมีมูลค่าปัจจุบันเท่ากับ มูลค่าปัจจุบันของมูลค่าเงินที่จะได้รับใน t ปีอนาคต จะเท่ากับ 1 ( 1 + i ) 1 ( 1 + i )t

มูลค่าปัจจุบัน = ? มูลค่าอนาคต = 100 0 5 i ( ทบต้น ) = 5%

การปรับมูลค่าผลตอบแทนในอนาคตมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน P = At ( 1 + i )t เมื่อ At = มูลค่าผลตอบแทนรวม เมื่อสิ้นปี t จากปัจจุบัน P = มูลค่าผลตอบแทนในปัจจุบัน i = อัตราดอกเบี้ย t = ระยะเวลาของปี

ต้นทุน ( Cost ) หมายถึง มูลค่าของปัจจัยนำที่นำมาใช้ใน โครงการ เพื่อให้เกิดผลผลิต หรือความสูญเสีย ทั้งหมดที่เกิดจากการมีโครงการ

1. ต้นทุนทางตรง ( Direct Cost ) 1.1. ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน ( Investment Cost ) ได้แก่ มูลค่าปัจจัยนำเข้าเพื่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ

1.2. ค่าใช้จ่ายเพื่อการดำเนินงาน ( Operating Cost ) ได้แก่ มูลค่าปัจจัยนำเข้า เพื่อการดำเนินงาน เช่น ค่าแรง วัตถุดิบ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ เป็นต้น

2. ต้นทุนทางอ้อม ( Indirect Cost ) คือ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากการมีโครงการหรือ ผลกระทบภายนอกโครงการที่เกิดขึ้นกับบุคคล กลุ่ม บุคคล และสังคม เช่น ค่าใช้จ่ายดำเนินการบำบัดน้ำเสีย อากาศเป็นพิษ เป็นต้น

ผลตอบแทน ( Benefit ) หมายถึง ผลผลิตทั้งหมดของโครงการหรือ ผลประโยชน์ที่ได้จากการเกิดโครงการ ได้แก่ 1. ผลตอบแทนขั้นต้น ( Primary Benefit ) ได้แก่ มูลค่าของสินค้าและบริการที่ผลิตได้จากโครงการ เช่น ถนน เขื่อน ผลไม้ ข้าว เป็นต้น

2. ผลตอบแทนขั้นรอง ( Secondary Benefit ) คือ ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นภายนอกโครงการ เช่น การมี งานทำ เกิดแหล่งท่องเที่ยว

อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (Benefit – Coat Ratio หรือ B/C Ratio) คือ อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแส ผลตอบแทนรวมกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสต้นทุนรวม เกณฑ์ ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกโครงการ คือ B/C > 1 ถือว่า ผลตอบแทนที่ได้จากโครงการจะมีค่ามากกว่าค่าใช้จ่ายที่เสียไป แต่ถ้า B/C < 1 หรือ B/C = 1 จะปฏิเสธโครงการเพราะมูลค่า ปัจจุบันของต้นทุนสูงกว่ามูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทน หรือไม่คุ้มกับการลงทุน

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( Net Present Value หรือ NPV ) คือ การคำนวณหาความแตกต่างระหว่างมูลค่าเท่ากับ 0 ดังนั้น IRR จึงได้แก่ อัตราส่วนลด หรือ r ถ้าอัตราส่วน ลด ( r ) ที่ทำให้โครงการคุ้นทุน ก็คือ อัตราดอกเบี้ยสูงสุด ที่โครงการสามารถจ่ายให้ทรัพยากรที่ใช้

ระยะเวลาคืนทุน ( Payback Period หรือ PB ) เป็นการคำนวณผลตอบแทนสิทธิเฉลี่ยต่อปีจากโครงการ จะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะคุ้มกับการลงทุน รายจ่ายพอดี ( ผลตอบแทนสุทธิ หมายถึง ผลตอบแทนหลังหักภาษี ) ระยะเวลาคืนทุน = รายจ่ายลงทุน ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยต่อปี