การบรรยาย เรื่อง “งานสารบรรณ”
การบริหารเอกสาร ชนิดของหนังสือราชการ การรับและการส่งหนังสือ ว่าด้วยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แบ่งเป็น 3 หมวด ดังต่อไปนี้ ชนิดของหนังสือราชการ การรับและการส่งหนังสือ การเก็บรักษา การยืม และทำลายหนังสือ 1. 2. 3. END
1. ชนิดของหนังสือราชการ แบ่งเป็น 6 แบบ 1. ชนิดของหนังสือราชการ แบ่งเป็น 6 แบบ 1.1 หนังสือภายใน 1.2 หนังสือภายนอก 1.3 หนังสือประทับตรา 1.4 หนังสือสั่งการ 1.5 หนังสือประชาสัมพันธ์ 1.6 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐาน ในราชการ
- หนังสือจากฝ่าย / กลุ่มงาน - หนังสือจากสำนักงานฯ หนังสือภายใน มี 2 ประเภท - หนังสือจากฝ่าย / กลุ่มงาน - หนังสือจากสำนักงานฯ ดูรายละเอียด ตัวอย่าง
ตัวอย่าง หนังสือราชการแบบทุกขั้นตอน หนังสือภายนอก มี 3 แบบ - หนังสือภายนอกในนามสำนักงานฯ - หนังสือภายนอกในนามกรมสุขภาพจิต - หนังสือภายนอกในนามคณะกรรมการฯ ตัวอย่าง หนังสือราชการแบบทุกขั้นตอน
หนังสือสั่งการ มี 3 แบบ - คำสั่ง - ระเบียบ - ข้อบังคับ
หนังสือประชาสัมพันธ์ มี 3 แบบ หนังสือประชาสัมพันธ์ มี 3 แบบ - ประกาศ - แถลงการณ์ - ข่าว
หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ มี 3 แบบ หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ มี 3 แบบ - หนังสือรับรอง - รายงานการประชุม - บันทึก - หนังสืออื่น
2. การรับและการส่งหนังสือ ดังต่อไปนี้ 2. การรับและการส่งหนังสือ ดังต่อไปนี้ 2.1 การรับหนังสือ (หนังสือรับ) 2.2 การส่งหนังสือ (หนังสือส่ง)
การเก็บรักษา การยืม และทำลายหนังสือ 3.1 การเก็บรักษา (เก็บระหว่างปฏิบัติ เก็บเมื่อปฏิบัติ เสร็จแล้วเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ อายุการเก็บ การจัดส่งหนังสือให้กรมศิลปากรการรักษาหนังสือ) 3.2 การยืม 3.3 การทำลาย End