โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานการทำแคลเซียมเจลลี่ ชาววัง กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ปลูกผักคะน้าปลอดสารพิษ
รายงานการระบาดศัตรูพืช
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
Formulation of herbicides Surfactants
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
สบู่สมุนไพร.
โครงงาน โรงเรียนฝางวิทยายน ผู้จัดทำ 1.นายสุทิน สีละโคตร เลขที่11
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
การผลิตกระเเสไฟฟ้า จากกังหันลม.
กระบวนการส่งออกผลไม้สดไปต่างประเทศ
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
เรื่อง การทำอาหารปลาจากธรรมชาติ
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ  คัดเลือกคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการฯ  คัดเลือกที่ทำการศูนย์บริการฯ  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โครงการอาชีพ การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
เรื่อง หัวข้อโครงงานวิทยาศาสตร์
National Costumes of ASEAN (ชุดแต่งกายประจำชาติอาเซียน)
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การบันทึกข้อมูลจังหวัดกระจาย ลงพื้นที่ ( ตำบล / อำเภอ ) จัดทำโดย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนัก งบประมาณ 22ตุลาคม2552.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ จัดทำโดย ด.ช. พงษ์ศธร วงค์แปลก เลขที่ 8 ด.ญ. ขวัญฤดี เสาสมภพ เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูดนุภัค เชาว์ศรีกุล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะ เกษและยโสธร บทเรียนออนไลน์ครูดนุภัค

1. กำหนดปัญหา 2. จุดมุ่งหมาย สำรวจพบหนอนที่แปลงผักคะน้าของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ ที่บ้าน เพื่อกำจัดศัตรู (หนอนผักคะน้า) เพื่อให้ผักคะน้าปลอดสารพิษ 2. จุดมุ่งหมาย

3. การรวบรวมข้อมูล พวกเราได้รวบรวมข้อมูล ดังนี้ ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 1 ผักคะน้า 2 ศัตรูผักคะน้า 3 สมุนไพรกำจัดศัตรูผักคะน้า 4 วิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้า 2.สัมภาษณ์ผู้ปกครองเกี่ยวกับการกำจัดหนอนผักคะน้าและการทำน้ำหมักใบสะเดา

4. เลือกวิธีการแก้ปัญหา วิธีการกำจัดศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีหลายวิธีการ ได้แก่ น้ำหมักบอระเพ็ด น้ำส้มควันไม้ และน้ำหมักใบสะเดา พวกเราได้เลือกวิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยน้ำหมักใบสะเดา เพราะ ใบสะเดาเป็นพืชในท้องถิ่น สามารถทำได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วนผสมหาง่าย

5. การปฏิบัติโครงงาน 1 5 1.โขลกใบสะเดาให้ละเอียดประมาณ 2 ขีด วิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา 1.โขลกใบสะเดาให้ละเอียดประมาณ 2 ขีด 2.นำไปหมักในน้ำสะอาด 1 ลิตร 3.หมักไว้ประมาณ 2 คืน 4.กรองเอากากทิ้งแล้วนำไปฉีดพ่น ตามความต้องการ 1 อุปกรณ์ 3 2 4 6 5

แบบบันทึกผลการทำน้ำหมักใบสะเดา วัตถุดิบ ปริมาณ ขั้นตอนการ ผลิต ผลการผลิต 1. ใบสะเดา 2 ขีด 1.โขลกใบสะเดา 2.นำไปหมักกับน้ำสะอาด 1 ลิตร 3.หมักไว้ประมาณ 2 คืน 4.กรองเอากากทิ้งแล้วนำน้ำหมักไปฉีดพ่น น้ำหมักมีลักษณะน้ำสีเขียวขุ่น 2. น้ำสะอาด 1 ลิตร

แบบบันทึกผลการทดลองการใช้น้ำหมักใบสะเดาในการกำจัดศัตรูพืช 6. ทดสอบ แบบบันทึกผลการทดลองการใช้น้ำหมักใบสะเดาในการกำจัดศัตรูพืช จำนวนแปลงผักคะน้า สัปดาห์ที่ น้ำหมักใบสะเดา 1 แปลง 1 ศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีจำนวนลดลงและรูบนใบผักคะน้าเริ่มลดลง 2 ศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีจำนวนน้อยลงและรูบนใบผักคะน้าน้อยลง

7.ปรับปรุงแก้ไข ในการทำน้ำหมักใบสะเดาครั้งแรกผู้ทดลองได้หั่นใบสะเดาแทนการโขลกพบว่าน้ำหมักใบสะเดามีสี ใสเมื่อนำไปใช้ไม่สามารถกำจัดหนอนผักคะน้าได้ เพราะ การหั่นไม่สามารถทำให้น้ำในใบสะเดาออกจึง ทำให้หนอนผักคะน้าไม่ตาย ผู้ทดลองจึงได้ไปศึกษาวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดาอีกครั้ง และได้เปลี่ยนจาก การหั่นเป็นโขลกแทน ซึ่งพบว่าน้ำหมักใบสะเดาสามารถกำจัดหนอนผักคะน้าลดลงได้

8. ประเมินผล พวกเราได้นำน้ำหมักใบสะเดาไปทดลองที่แปลงผักของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผลปรากฏว่าแปลงผักคะน้ามีศัตรูพืชน้อยลงและรูบนใบผักคะน้า ลดลง

การคำนวณต้นทุนผลการผลิต รายการ จำนวนเงิน 1.ใบสะเดา 2. ค่าแรง 1 3 รวมต้นทุน 4 2. ราคาขาย 7 3. กำไร

เสียงสะท้อนจากผู้เรียน 1. ได้เรียนรู้กระบวนการทำโครงงานเทคโนโลยี 2. ได้นำความรู้จากห้องเรียนไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน 3. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทำให้เกิดความสามัคคี 4. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาผ่านการปฏิบัติจริงนอกห้องเรียน 5. ได้รู้จักวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา

บรรณานุกรม 1.http://kruprasar.net/index.php?option=com_content&task=view&id=74&Ite mid=1 2. http://variety.teenee.com/foodforbrain/3523.html 3. http://www.uniloanonline.com/kana.html 4. http://forecast.doae.go.th/web/agrotis/319-animal-pests-of-agrotis/1110- spodoptera-litura.html