โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ จัดทำโดย ด.ช. พงษ์ศธร วงค์แปลก เลขที่ 8 ด.ญ. ขวัญฤดี เสาสมภพ เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูดนุภัค เชาว์ศรีกุล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะ เกษและยโสธร บทเรียนออนไลน์ครูดนุภัค
1. กำหนดปัญหา 2. จุดมุ่งหมาย สำรวจพบหนอนที่แปลงผักคะน้าของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ ที่บ้าน เพื่อกำจัดศัตรู (หนอนผักคะน้า) เพื่อให้ผักคะน้าปลอดสารพิษ 2. จุดมุ่งหมาย
3. การรวบรวมข้อมูล พวกเราได้รวบรวมข้อมูล ดังนี้ ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 1 ผักคะน้า 2 ศัตรูผักคะน้า 3 สมุนไพรกำจัดศัตรูผักคะน้า 4 วิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้า 2.สัมภาษณ์ผู้ปกครองเกี่ยวกับการกำจัดหนอนผักคะน้าและการทำน้ำหมักใบสะเดา
4. เลือกวิธีการแก้ปัญหา วิธีการกำจัดศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีหลายวิธีการ ได้แก่ น้ำหมักบอระเพ็ด น้ำส้มควันไม้ และน้ำหมักใบสะเดา พวกเราได้เลือกวิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยน้ำหมักใบสะเดา เพราะ ใบสะเดาเป็นพืชในท้องถิ่น สามารถทำได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วนผสมหาง่าย
5. การปฏิบัติโครงงาน 1 5 1.โขลกใบสะเดาให้ละเอียดประมาณ 2 ขีด วิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา 1.โขลกใบสะเดาให้ละเอียดประมาณ 2 ขีด 2.นำไปหมักในน้ำสะอาด 1 ลิตร 3.หมักไว้ประมาณ 2 คืน 4.กรองเอากากทิ้งแล้วนำไปฉีดพ่น ตามความต้องการ 1 อุปกรณ์ 3 2 4 6 5
แบบบันทึกผลการทำน้ำหมักใบสะเดา วัตถุดิบ ปริมาณ ขั้นตอนการ ผลิต ผลการผลิต 1. ใบสะเดา 2 ขีด 1.โขลกใบสะเดา 2.นำไปหมักกับน้ำสะอาด 1 ลิตร 3.หมักไว้ประมาณ 2 คืน 4.กรองเอากากทิ้งแล้วนำน้ำหมักไปฉีดพ่น น้ำหมักมีลักษณะน้ำสีเขียวขุ่น 2. น้ำสะอาด 1 ลิตร
แบบบันทึกผลการทดลองการใช้น้ำหมักใบสะเดาในการกำจัดศัตรูพืช 6. ทดสอบ แบบบันทึกผลการทดลองการใช้น้ำหมักใบสะเดาในการกำจัดศัตรูพืช จำนวนแปลงผักคะน้า สัปดาห์ที่ น้ำหมักใบสะเดา 1 แปลง 1 ศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีจำนวนลดลงและรูบนใบผักคะน้าเริ่มลดลง 2 ศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีจำนวนน้อยลงและรูบนใบผักคะน้าน้อยลง
7.ปรับปรุงแก้ไข ในการทำน้ำหมักใบสะเดาครั้งแรกผู้ทดลองได้หั่นใบสะเดาแทนการโขลกพบว่าน้ำหมักใบสะเดามีสี ใสเมื่อนำไปใช้ไม่สามารถกำจัดหนอนผักคะน้าได้ เพราะ การหั่นไม่สามารถทำให้น้ำในใบสะเดาออกจึง ทำให้หนอนผักคะน้าไม่ตาย ผู้ทดลองจึงได้ไปศึกษาวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดาอีกครั้ง และได้เปลี่ยนจาก การหั่นเป็นโขลกแทน ซึ่งพบว่าน้ำหมักใบสะเดาสามารถกำจัดหนอนผักคะน้าลดลงได้
8. ประเมินผล พวกเราได้นำน้ำหมักใบสะเดาไปทดลองที่แปลงผักของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผลปรากฏว่าแปลงผักคะน้ามีศัตรูพืชน้อยลงและรูบนใบผักคะน้า ลดลง
การคำนวณต้นทุนผลการผลิต รายการ จำนวนเงิน 1.ใบสะเดา 2. ค่าแรง 1 3 รวมต้นทุน 4 2. ราคาขาย 7 3. กำไร
เสียงสะท้อนจากผู้เรียน 1. ได้เรียนรู้กระบวนการทำโครงงานเทคโนโลยี 2. ได้นำความรู้จากห้องเรียนไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน 3. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทำให้เกิดความสามัคคี 4. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาผ่านการปฏิบัติจริงนอกห้องเรียน 5. ได้รู้จักวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา
บรรณานุกรม 1.http://kruprasar.net/index.php?option=com_content&task=view&id=74&Ite mid=1 2. http://variety.teenee.com/foodforbrain/3523.html 3. http://www.uniloanonline.com/kana.html 4. http://forecast.doae.go.th/web/agrotis/319-animal-pests-of-agrotis/1110- spodoptera-litura.html