ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
สาระที่ 4 พีชคณิต.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
PHP LANGUAGE.
ระบบการพิมพ์.
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
เรื่องเดิม   เมื่อวันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงติดตามผลการดำเนินงานโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนโรงงานยาสูบ.
เรื่องเดิม   เมื่อวันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงติดตามผลการดำเนินงานโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนโรงงานยาสูบ.
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การเขียนโครงการ.
รายงานการปฏิบัติงาน (สหกิจศึกษา)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U. T. M
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
บ้านของฉัน “สุพรรณบุรี”
WELCOME To ANGTHONG.
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่ ที่มา: พ.อ.ศุภฤกษ์ ชัยชนะ http://resgat.net/tutor/wathis.htm

แผนที่คืออะไร - แผนที่คือรูปลายเส้นที่เขียนหรือกำหนดขึ้น เพื่อแสดงสัญญาลักษณ์ของพื้นผิวพิภพทั้งหมด หรือเพียงบางส่วน ลงบนพื้นราบตามมาตรส่วน โดยใช้สีและสัญลักษณ์แทนรายละเอียดของภูมิประเทศ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น

แผนที่แบ่งได้กี่ประเภท - เราสามารถแบ่งแผนที่ออกไปได้หลายประเภท แต่ที่นิยมแบ่งกันก็คือ แบ่งตามมาตราส่วนของแผนที่ โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้คือ (1) แผนที่มาตราส่วนเล็ก ได้แก่ มาตราส่วน 1: 600,000 และเล็กกว่า แผนที่มาตราส่วนเล็กที่นิยมใช้และผลิตคือ แผนที่มาตราส่วน 1: 1,000,000

แผนที่แบ่งได้กี่ประเภท (2) แผนที่มาตราส่วนปานกลาง ได้แก่ มาตราส่วน ใหญ่กว่า 1: 600,000 แต่เล็กกว่า 1:75,000 แผนที่มาตราส่วนปานกลางที่นิยมใช้และผลิตคือ แผนที่มาตราส่วน 1: 250,000

แผนที่แบ่งได้กี่ประเภท (3) แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ได้แก่ มาตราส่วน ที่ใหญ่กว่า 1 : 75,000 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ที่นิยมใช้และผลิตคือ แผนที่มาตราส่วน 1: 50,000

มาตราส่วนของแผนที่ - มาตราส่วนของแผนที่ คือ อัตราส่วนระหว่างระยะบนแผนที่กับระยะในภูมิประเทศ หรือ คือความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางราบบนแผนที่กับระยะทางราบในภูมิประเทศ คำนวณได้จากสูตร : มาตราส่วนของแผนที่ = ระยะบนแผนที่ / ระยะในภูมิประเทศ มาตราส่วน ระยะบนแผนที่ ระยะจริง 1:250,000 1 ซ.ม. 1 ซ.ม.250,000/100 ซ.ม./ม. = 2,500 ม. = 2.5 ก.ม. 1:50,000 1 ซ.ม.50,000/100 ซ.ม./ม. = 500 ม. = 0.5 ก.ม. 1:4,000 1 ซ.ม.4,000/100 ซ.ม./ม. = 40 ม. = 0.04 ก.ม.

ประวัติแผนที่ประเทศไทย - แผนที่ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุดคือ แผนที่ยุทธ์ศาสตร์รัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ต้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 1893 -1912 - การทำแผนที่ประเทศไทยเริ่มเมื่อ ปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2411 ได้มีการทำแผนที่ด้านทิศตะวันตกไทยกำหนดพรมแดนไทยกับพม่า ที่มา: http://gotoknow.org/blog/mapdepot/139488

องค์ประกอบของแผนที่ - บริเวณขอบระวางของแผนที่จะมีรายละเอียดที่จำเป็นในการใช้แผนที่จำนวนมาก สำหรับแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ซึ่งจัดทำโดยกรมแผนที่ทหาร มีส่วนที่สำคัญๆ ได้ดังนี้

องค์ประกอบของแผนที่ 1. ชื่อระวาง (Sheet Name) ปกติการตั้งชื่อระวางนั้นจะตั้งตามลักษณะเด่นของรายละเอียดในแผ่นระวางทางวัฒนธรรมซึ่งเกิดจากฝีมือมนุษย์ เช่น ชื่อ หมู่บ้าน ตำบล จังหวัด ฯลฯ หรือลักษณะเด่นทางภูมิศาสตร์ เช่น ชื่อภูเขา ห้วย หนอง แม่น้ำ ฯลฯ

องค์ประกอบของแผนที่ 2. หมายเลขระวาง (Sheet Number) เป็นหมายเลขที่ใช้อ้างอิงที่กำหนดให้กับแผนที่แต่ละระวาง หมายเลขนี้ถูกกำหนดขึ้นเป็นตารางแบบระบบตารางพิกัดตามความต้องการของผู้ผลิต

องค์ประกอบของแผนที่ 3. ชื่อชุดแผนที่ และมาตราส่วน (Series Name and Scale) แผนที่แต่ละชุดจะเป็นแผนที่มีมาตราส่วนเท่ากัน ทั้งชุดมีระบบการวางอย่างเดียวกัน จัดทำพื้นที่โซนหนึ่งโดยเฉพาะ

องค์ประกอบของแผนที่ 4. หมายเลขประจำชุด (Series Number) หมายเลขประจำชุดจะบอกถึง การปกคลุมทางภูมิศาสตร์ ย่านมาตราส่วนของแผนที่ รวมทั้งตัวเลขจำแนกโดยการกำหนดตัวเลขให้เห็นความแตกต่าง โดยเฉพาะบอกลำดับการจัดทำ

องค์ประกอบของแผนที่ 5. หมายเลขการจัดพิมพ์ (Edition Number) หมายเลขการจัดพิมพ์นี้จะเรียงจากน้อยไปหามากทำให้เราทราบถึงอายุของแผนที่

องค์ประกอบของแผนที่ 6. มาตราส่วนเส้นบรรทัด (Bar Scale) ใช้เพื่อพิจารณาหาระยะบนพื้นที่ภูมิประเทศ ที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ แผนที่ส่วนมากจะมีมาตราส่วนเส้นบรรทัด ตั้งแต่ 3 บรรทัดขึ้นไป ซึ่งแต่ละบรรทัดจะแสดงมาตราวัดระยะที่แตกต่างกัน เช่น ไมล์ หลา เมตร เป็นต้น

องค์ประกอบของแผนที่ วิธีการใช้มาตราส่วนเส้นบรรทัด (1) วัดระยะที่เราต้องการทราบในแผนที่