โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัย RESEARCH.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
การศึกษาความพึงพอใจของ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การเขียนรายงานการวิจัย
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
แนวคิดในการทำวิจัย.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเทคนิคการเรียนสะกดคำของนักเรียนระดับชั้น
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548 การวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในวิชา Architectural Design Studio โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 26 มกราคม 2548

ผู้ร่วมโครงการวิจัย นิสิตชั้นปีที่ 3 สถาปัตยกรรมศาสตร์ 37 คน ผู้สอน-นักวิจัย: ดร. สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าโครงการ ดร. เยาว์อุไร สุถิรนาถ รศ. ประเสริฐ แสงวชิระภิบาล ผศ. พัฑรา สืบศิริ อ. ดิเรก เส็งหลวง นักวิจัยภายนอก: ดร. วรรณดี สุทธินรากร ดร. ศิริพันธุ์ เวชสิทธ์

ความสำคัญของปัญหา การใช้ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนมีความรู้ภาษาอังกฤษน้อย ตำราต่างๆที่ใช้เป็นภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ระดับนานาชาติ ไม่มีคนไทย ขาดงานที่แสดง Originality การจำแบบมาใช้ การอ่าน เข้าใจภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และเข้าใจกระบวนการออกแบบโดยมีพื้นฐานจากการค้นคว้า ทำให้สามารถพัฒนาการออกแบบที่เป็นเหตุเป็นผล

วัตถุประสงค์งานวิจัย การใช้ภาษาอังกฤษ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ พูด อ่าน เขียน การค้นคว้าข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม พัฒนากระบวนการเรียนรู้ การออกแบบที่มีลักษณะเฉพาะตัว ผลงานในวิชาแสดงแนวคิดของตนเอง

กระบวนการวิจัย การใช้ภาษาอังกฤษ การวิจัยเชิงทดลอง ผลงานด้านสถาปัตยกรรม One-Group Pretest/Post-test Design ผลงานด้านสถาปัตยกรรม การวิจัยเชิงทดลอง การเรียนโดยนิสิตเป็นศูนย์กลาง กำหนดเฉพาะหัวข้องาน การออกแบบโดยการใช้ข้อมูลจากงานวิจัย

วิธีการ ผู้สอนประจำ 5 คน ใช้เฉพาะภาษาอังกฤษ 1 คน ใช้ภาษาอังกฤษและไทย 3 คน ใช้ภาษาไทย 1 คน การตรวจงานตัวต่อตัวและใบงานเป็นภาษาอังกฤษ ไม่บังคับนิสิตพูด เขียน ภาษาอังกฤษ

เครื่องมือ การใช้ภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม แบบทดสอบความเครียด แบบทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ แบบวัดทัศนคติที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษและวิชาสถาปัตยกรรม แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการเรียน แบบสัมภาษณ์รายบุคคล (indepth interview) แบบสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผลงานด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบโดยการใช้กระบวนการวิจัย ผลงานนิสิต แบบสอบถามความคิดเห็นต่อกระบวนการเรียนการออกแบบโดยการวิจัย

การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ภาษาอังกฤษ ร้อยละ Standard Deviation, T-test Content Analysis ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ร้อยละ ผลงานนิสิต (Content Analysis)

ผลการศึกษา การใช้ภาษาอังกฤษ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม จากการประเมินตนเองร้อยละ 100 สามารถอ่าน ฟัง สื่อสารได้ดีขึ้น จากแบบทดสอบ ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ -การค้นคว้าตำรา/internet/งานวิจัย มากขึ้น -ทัศนคติดีต่อภาษาอังกฤษ (significant) -มั่นใจว่านำเสนองานโดยภาษาอังกฤษได้ -ยังไม่กล้าพูด จุดอ่อน ผลงานด้านสถาปัตยกรรม ผลงานนิสิตมีความหลากหลาย ผลงานนิสิตมีลักษณะเฉพาะตัว

ผลที่ได้มากกว่าการศึกษา นิสิตไม่ขาดเรียน นิสิตทำงานเป็นกลุ่มมากขึ้น นิสิตนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษ นิสิตตอบผู้สอนที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ (ตอบทั้งภาษาไทยและอังกฤษ) นิสิตได้พัฒนาทักษะการทำวิจัย และใช้ข้อมูลงานวิจัยในการออกแบบ เวลาที่นิสิตใช้การศึกษาเพิ่มมากขึ้น ผลงานนิสิตเป็นแนวทางในการทำวิจัยด้านสถาปัตยกรรมต่อไป นิสิตพึงพอใจกระบวนการเรียนการสอน

ประสบการณ์จากการเรียนการสอน ผู้สอนต้องเตรียมตัวด้วยกันก่อนการสอนทุกครั้ง ผู้สอนใช้เวลาในการตรวจงานนานมาก ครั้งละประมาณ 5-7 ชั่วโมง (ปกติ 3-4 ชั่วโมง) ต้องการเอกสารที่ชัดเจน (วัตถุประสงค์ กำหนดเวลาทำงาน ฯลฯ) ต้องเตรียมข้อมูลอ้างอิงเพิ่มให้นิสิต ตารางการสอนต้องปรับเปลี่ยนตลอดเวลา(ขึ้นอยู่กับการพัฒนางานของนิสิต) นิสิตต้องการการปรับตัวในระยะเริ่มต้นภาคการศึกษา

ผลงานด้านสถาปัตยกรรม Using local material: Integrating rubber into wall construction

ผลงานด้านสถาปัตยกรรม Using natural material: Vertical landscaping for thermal control

ผลงานด้านสถาปัตยกรรม Using low-cost mass-produced (balloon): Flexible / Adjustable skin

ผลงานด้านสถาปัตยกรรม Using building texture: Water delaying facade

การดำเนินงานวิจัยต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนการสอนทั้งการใช้ภาษาอังกฤษและผลงานนิสิต นำมาปรับปรุงการเรียนการสอนในภาคการศึกษาต่อไป เปลี่ยนผู้สอนเป็น 4 คน: ชาวต่างประเทศ 1 คน คนไทยใช้เฉพาะภาษาอังกฤษ 1 คน คนไทยใช้ 2 ภาษา 2 คน