ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน สำรวจกันเขต ชลประทาน จ่าย ค่าชดเชย แผนที่แสดงแนว เขตชลประทาน จัดหาที่ดิน ที่ดินเพื่อกิจการ ชลประทาน การรังวัดเพื่อ การชลประทาน แผนที่ ร.ว.43 ก.
ลักษณะงาน งานสำรวจปักหลักเขตชลประทาน งานสำรวจซ่อมเขตชลประทาน 04/04/60
คำจำกัดความ
7. หลักเขตชลประทาน หมายถึง หลักเขตคอนกรีตเสริมเหล็กตามแบบมาตรฐานของกรมชลประทานสำหรับใช้แสดงแนวเขตชลประทาน
8. หมุดหลักเขตที่ดิน หมายถึง หมุดหลักเขตคอนกรีตตามแบบมาตรฐานของกรมที่ดิน ซึ่งกรมที่ดินอนุมัติให้กรมชลประทานผลิตใช้ในราชการ
9. หมุดหลักฐานแผนที่ หมายถึง หมุดหลักฐานถาวรที่สร้างขึ้นบนพื้นภูมิประเทศ บนสิ่งปลูกสร้าง หรืออาคารสูงที่มีความมั่นคงแข็งแรง โดยมีรูปแบบ ขนาดลักษณะเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้องของค่าพิกัดและ / หรือค่าระดับให้เป็นไปตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
10. การหมายสี หมายถึง การหมายสีตามแนวขอบอ่างเก็บน้ำตามค่าระดับที่กำหนดเพื่อนำไปใช้พิจารณาเกี่ยวกับขอบเขตและพื้นที่ที่ถูกน้ำท่วม
การเตรียมงาน(ต่อ) (6) จัดทำหลักเขต ชป การเตรียมงาน(ต่อ) (6) จัดทำหลักเขต ชป.และหลักเขตที่ดิน “ด” ให้ถูกต้องตามแบบ มาตรฐาน ของ กรมชลประทาน
การปฏิบัติงานสนาม สำรวจปักหลักเขตฯ
คลองส่งน้ำ ท่อส่งน้ำ ถนนชลประทาน คลองระบายน้ำหรือคันกั้นน้ำ คลองส่งน้ำ ท่อส่งน้ำ ถนนชลประทาน คลองระบายน้ำหรือคันกั้นน้ำ - สำรวจแนวศูนย์กลางในภูมิ ประเทศ - ออกฉากจากแนว ศูนย์กลางวัดระยะให้ได้เขตตามแบบและปักหลักเขต -ในกรณีหมุดหลักฐาน แนวศูนย์กลางเดิมสูญหายให้โยงค่าพิกัดจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วมายังตำแหน่งแนวศูนย์กลางตามแบบ
อ่างเก็บน้ำ สำรวจระดับเพื่อหาขอบเขตอ่างเก็บน้ำตามที่แบบกำหนด โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3 และกำหนดจุดปักหลักเขต
หัวงาน บ่อยืมดิน โครงการเป็นผู้นำชี้และ กำหนดจุดปักหลักเขต วางแนวขอบเขตในภูมิประเทศตามแบบหรือโดย โครงการเป็นผู้นำชี้และ กำหนดจุดปักหลักเขต
การปักหลักเขต ชป. (1) ปักหลักเขตให้อยู่ในแนวดิ่งตรง ตำแหน่งที่กำหนดไว้ โดยหัน หน้าหลักเขตด้านที่มีตัวอักษร และตัวเลขเข้าหาบริเวณพื้นที่ กันเขตชลประทาน (2) ปักหลักเขตลึกลงไปในพื้นดิน ประมาณ 60 ซม.
การโยงค่าพิกัด โยงค่าพิกัดจากหมุดหลักฐาน ใกล้เคียงที่ทราบค่าแล้ว ไปยัง หลักเขตทุกหลัก โดยวิธีการ วงรอบชั้นที่ 3 และ/หรือโยงยึด โดยวิธี SIDE SHOT
โปรแกรม AUTOCAD