การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
หลังการประกอบเครื่อง บทที่ 8
ขั้นตอนการบันทึกประวัติและลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาใหม่
เครื่องคิดเลข การใช้ SHARP EL -506 W
การใช้เครื่องพิมพ์และเครื่อง ถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
การ Import/Export Favorite ของ KETrade
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
Serial : Check in, Holding, Item by Issues by bound.
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
Introduction to C Programming.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
Atlas.ti Date 24/03/10.
Atlas.ti demo – ให้code ได้ไม่เกิน 50
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
rid. go. th/webbudget/main_budget
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows XP
โปรแกรม Microsoft Access
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
Depreciation Worksheet
การใช้งาน Microsoft Windows XP
ขั้นตอนการดาวน์โหลดวิดีโอจาก youtube.com โดยใช้โปรแกรม youripper 1. ไปที่เว็บ คลิ๊กที่ Server.
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555 การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555.
การติดตั้งโปรแกรม. 1. Double click เลือก RFDSetup.msi เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรม.
การรวมฐานข้อมูล. 1. เลือกฐานข้อมูลหลักสำหรับรวมกับฐานข้อมูลอื่นๆ 2. เปลี่ยนชื่อฐานข้อมูลให้ตรงกับฐานข้อมูลหลักในข้อ 1 ใน C:\Program Files\RegMis เปิดไฟล์
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การสร้างเหตุการณ์ click ให้กับปุ่มกด Button
การสำรวจทำแผนที่กันเขตชลประทาน ระบบดิจิตอล โดยใช้กล้อง Total Station
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม ประไพ จันทร์อินทร์ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
Microsoft Word MailMerge
ขั้นตอนวิธีเก็บพิกัดโรคยางพารา
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 5 การทำงานกับหลาย Table
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ที่เมนู Start - All Programs - TURBO C++ V4.5 และ TURBO C++
การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์ การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
ตัวอย่างการนำเสนอ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter สัญลักษณ์ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter (สีส้ม) กล้องโทรทัศน์วงจรปิดชนิดสีแบบติดตั้งอยู่กับที่
วิธีเปลี่ยนชื่อไฟล์ ให้เป็นตัวพิมพ์เล็ก ทั้งโฟลเดอร์ แบบอัตโนมัติ มิสรจนา อินกลับ งานเทคโนโลยี โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา.
สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
คู่มือการใช้งาน โปรแกรม STI.VCT 1.0
เริ่มต้น Photoshop CS5.
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
การสร้างตารางคำนวณด้วย
ง30219 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
TOPCON ES-105.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ Total Stations การเก็บรายละเอียดแบบมุมและระยะ (REC) SOKKIA

ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F3 หรือ MEM Total Stations ขั้นตอนในการสร้าง Job SET310 SOKKIA S/N 146456 Ver . 493- 31- 12 493- 91- 35 Job . Job1 MEAS CARD MEM CNFG  ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F3 หรือ MEM

ทำการเลือกที่ JOB หลังจากนั้นกด Enter Memory JOB Known data Code  ทำการเลือกที่ JOB หลังจากนั้นกด Enter

ทำการเลือกที่ JOB selection หลังจากนั้นกด Enter JOB name edit JOB deletion Comms output Comms setup  ทำการเลือกที่ JOB selection หลังจากนั้นกด Enter

JOB selection : JOB1 S . F . = 1.00000000 Coord search JOB : JOB1 LIST S . F .  ทำการกดที่ LIST หรือ F1 เพื่อเลือก JOB งานหรือถ้าต้องการเปลี่ยน Scale factor ให้กดที่ F4

ทำการเลือกที่ JOB ที่ไม่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter JOB selection JOB1 50 JOB2 JOB3 JOB4 JOB5  ทำการเลือกที่ JOB ที่ไม่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter

 ส่วนที่ Coord search JOB ใช้ในการเรียกค่าพิกัดจาก JOB JOB selection : JOB2 S . F . = 1.00000000 Coord search JOB : JOB2 LIST S . F .  ส่วนที่ Coord search JOB ใช้ในการเรียกค่าพิกัดจาก JOB อื่นมาใช้งานถ้าไม่ต้องการใช้ทำการเลือกเป็น JOB เดียวกัน จากนั้นกด Enter

 จากนั้นหน้าจอจะปรากฏดังรูปถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อ JOB JOB selection JOB name edit JOB deletion Comms output Comms setup  จากนั้นหน้าจอจะปรากฏดังรูปถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อ JOB สามารถเลือกเปลี่ยนได้ที่ Job name edit

 หลังจากสร้าง JOB แล้วขั้นตอนต่อไปให้เลือกที่ Code Memory JOB Known data Code  หลังจากสร้าง JOB แล้วขั้นตอนต่อไปให้เลือกที่ Code เพื่อทำการสร้าง Code จากนั้นทำการกด Enter

 ทำการเลือกที่ Key in Code จากนั้นทำการกด Enter Code Key in code Deletion Code view Clear list  ทำการเลือกที่ Key in Code จากนั้นทำการกด Enter

 ทำการป้อน Code ที่ใช้จากนั้นทำการกด Enter Code : STA 1 2 3 4  ทำการป้อน Code ที่ใช้จากนั้นทำการกด Enter Code ตัวนั้นก็จะถูกบันทึกลงในกล้อง

เราสามารถเรียกดู Code ที่บันทึกไปแล้วได้ที่ Code view Key in code Deletion Code view Clear list เราสามารถเรียกดู Code ที่บันทึกไปแล้วได้ที่ Code view

 กด ESC ออกมาที่หน้า Meas ที่ P1 ทำการ SET 0 ที่มุม Az จด ppm 18 H 20.323m ZA 53˚ 32′ 18″ HAR 123˚ 20′ 10″ P1 DIST SHV 0SET COORD  กด ESC ออกมาที่หน้า Meas ที่ P1 ทำการ SET 0 ที่มุม Az จด ค่า Az ที่มาจุด BS หลังจากนั้นทำการ SET 0 ที่จุด BS

 ขั้นตอนต่อไปให้มาที่หน้าจอ Meas ที่ P3 ให้กดที่ F3 หรือ REC ppm 18 H 20.323m ZA 53˚ 32′ 18″ HAR 00˚ 00′ 00″ P3 MLM OFFSET REC S - O  ขั้นตอนต่อไปให้มาที่หน้าจอ Meas ที่ P3 ให้กดที่ F3 หรือ REC เพื่อเข้าสู่โหมดของการบันทึก

REC JOB2 Stn data Angle data Dist data Coord data Dist + Coord data  ขั้นตอนที่ 1 ทำการเลือกที่ Stn data เพื่อทำการบันทึกจุดตั้งกล้อง จากนั้นกด Enter

 ทำการใส่ชื่อของจุดตั้งกล้องในที่นี้สมมุติให้เป็น A1 และใส่ความ N0 : 0.000 E0 : 0.000 Z0 : 0.000 Pt . A1 Inst.h : 1.500m OK READ EDIT  ทำการใส่ชื่อของจุดตั้งกล้องในที่นี้สมมุติให้เป็น A1 และใส่ความ สูงของกล้องสมมุติ 1.500 ส่วนค่าพิกัดนั้นค่อยไปใส่ในโปรแกรม ทีหลังจากนั้นกด Enter

 ต่อไปให้ทำการเลือก Code โดยกดเลือกได้ที่ F2 หรือ F3 หรือถ้า : STA Operator : OK EDIT  ต่อไปให้ทำการเลือก Code โดยกดเลือกได้ที่ F2 หรือ F3 หรือถ้า ต้องการเพิ่มใหม่ให้กดที่ F4 เพื่อ EDIT เพิ่มเข้าไปหลังจากนั้น กด F1 หรือ OK เพื่อทำการบันทึกจุดนี้

 ขั้นตอนที่ 2 ทำการเลือกที่ Dist data เพื่อทำการเก็บข้อมูล REC JOB2 Stn data Angle data Dist data Coord data Dist + Coord data  ขั้นตอนที่ 2 ทำการเลือกที่ Dist data เพื่อทำการเก็บข้อมูล ของรายละเอียดเป็นแบบมุมกับระยะ จากนั้นกด Enter

 กดที่ F2 หรือ DIST เพื่อทำการวัดระยะที่จุด Back sight REC/Dist rec 9999 H ZA 53˚ 32′ 18″ HAR 00˚ 00′ 00″ Pt . 1 AUTO DIST OFFSET  กดที่ F2 หรือ DIST เพื่อทำการวัดระยะที่จุด Back sight

 ทำการใส่ชื่อของจุด Back sight ใส่ค่าความสูงจากนั้นกด Enter S 25.003m ZA 53˚ 32′ 18″ HAR 00˚ 00′ 00″ Pt . 104 Tgt.h : 1.500m OK EDIT  ทำการใส่ชื่อของจุด Back sight ใส่ค่าความสูงจากนั้นกด Enter

 ทำการใส่ Code กด F2 หรือ F3 เพื่อเลือกจากนั้นกด F1 หรือ Code : BS OK EDIT  ทำการใส่ Code กด F2 หรือ F3 เพื่อเลือกจากนั้นกด F1 หรือ OK เพื่อทำการบันทึกรายละเอียดจุดนั้นลงในกล้อง

REC/Dist rec 9998 H 25.000m ZA 53˚ 32′ 18″ HAR 00˚ 00′ 00″ Pt . 105 AUTO DIST OFFSET จากนั้นจะกลับมาที่หน้าจอเดิมให้เล็งไปเก็บรายละเอียดในจุดต่อไปแล้วกดที่ F2 หรือ DIST หรือกดที่ F1 หรือ AUTO ในกรณีที่ไม่มีการเปลี่ยนชื่อและ Code ของรายละเอียดกล้องจะทำการบันทึกให้โดยอัตโนมัติ

งานสำรวจจุดระดับภูมิประเทศ (Spot Height) ด้วยกล้องTotal Station และเก็บรายละเอียดที่เกิดขี้นใหม่ที่ไม่มีในภาพถ่ายทางอากาศ ให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งโครงการ

การบันทึกข้อมูล (CARD)

ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F2 หรือ CARD SET310 SOKKIA S/N 146456 Ver . 493- 31- 12 493- 91- 35 Job . Job1 MEAS CARD MEM CNFG  ที่หน้าจอ SOKKIA ให้กดที่ F2 หรือ CARD

 ทำการเลือกที่ Save data เพื่อทำการบันทึกข้อมูลลงใน Card Load known Pt. File status Format  ทำการเลือกที่ Save data เพื่อทำการบันทึกข้อมูลลงใน Card จากนั้นกด Enter

ทำการเลือกที่ JOB ที่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter ให้ * JOB2 Out JOB3 JOB4 JOB5 OK  ทำการเลือกที่ JOB ที่มีไฟล์งานหลังจากนั้นกด Enter ให้ ขึ้นคำว่า Out จากนั้นกด F4 หรือ OK

 ทำการตั้งชื่องาน วันที่และเวลา หลังจากนั้นกด F4 หรือ OK TEST .CRD Date : Nov / 16 / 2006 Time : 11 : 50 : SDR Format 77706 / 125032 KB EDIT OK  ทำการตั้งชื่องาน วันที่และเวลา หลังจากนั้นกด F4 หรือ OK

 * เมื่อได้ทำการถ่ายข้อมูลลง Card แล้วกล้องจะกลับมาที่ JOB1 * JOB2 Out  JOB3 JOB4 JOB5 OK เมื่อได้ทำการถ่ายข้อมูลลง Card แล้วกล้องจะกลับมาที่ หน้าจอเดิมให้กด ESC

 หลังจากนั้นให้เลือกมาที่ File status เพื่อทำการเรียกดูข้อมูลใน Card Save data Load known Pt. File status Format  หลังจากนั้นให้เลือกมาที่ File status เพื่อทำการเรียกดูข้อมูลใน Card ว่าที่บันทึกไปนั้นได้ลง Card ไปเรียบร้อยแล้วหรือยัง จากนั้นกด Enter

จะเห็นได้ว่างานที่เราบันทึกนั้นได้ลงมาใน Card เรียบร้อยแล้ว TEST CRD จะเห็นได้ว่างานที่เราบันทึกนั้นได้ลงมาใน Card เรียบร้อยแล้ว ในขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการนำข้อมูลเข้าโปรแกรม ProLink

Survey Reduction Software SOKKIA ProLINK Survey Reduction Software

ทำการเปิดโปรแกรม ProLink ขึ้นมาจะปรากฎหน้าจอดังรูป

ทำการเปิดโปรแกรม ProLink ขึ้นมาจะปรากฎหน้าจอดังรูป ให้ Click ที่หัวกระดาษด้านซ้ายตรงลูกศรเพื่อทำการสร้างงาน จากนั้นกด SAVE

จากนั้นจะเห็นได้ว่าที่หน้าจอจะปรากฏชีทงานขึ้นมา ขั้นตอน ต่อไปให้เลือกไปที่ File import

 จะปรากฏกล่องคำสั่ง Import ขึ้นมาที่ Import Conversion ให้ เลือกไฟล์งานที่จะทำการเปิดหาเป็น SDR Files (*.SDR) ดัง ตัวอย่างในรูปจากนั้นกด OK

 จะปรากฏกล่องคำสั่ง Import Files ขึ้นมาให้ทำการหาข้อมูลที่ จะเปิดงานจากนั้นตรง File of type ให้เปลี่ยนเป็น All Files แล้ว ทำการ Click ไปที่ไฟล์งานจากนั้นกด Open

จะปรากฏไฟล์งานขึ้นมาโดยจะมี 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็น ข้อมูลดิบและส่วนที่เป็นค่าพิกัด

จากนั้นทำการใส่ค่า Az ที่ Back sight โดยคลิ๊กซ้ายของจุดเริ่ม หลังจากนั้นเลือก Insert Record

 ทำการเลือก BKB ใส่ชื่อจุด BS ใส่ชื่อจุดตั้งกล้อง ใส่ค่า Az จากจุดตั้งกล้องไป BS ในที่นี้สมมุติ 184.3013 ใส่ค่ามุมที่ SET ไปที่จุด BS ตอนแรกในที่นี้เป็น 0 ขั้นตอนในการเปลี่ยนค่านั้นต้องกด Enter ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยน เมื่อเปลี่ยนค่าทุกจุดดังรูปเสร็จแล้วให้กด Insert

จะเห็นว่าเมื่อใส่ค่า Az เข้าไปค่าพิกัดจะเปลี่ยนไปแต่ค่าพิกัดที่ได้ในตอนนี้เป็นค่าที่ได้สมมุติขึ้นมา ในกรณีที่มีค่าพิกัดที่ปรับแก้มาแล้วเราสามารถใส่ลงไปได้เลย

ในที่นี้สมมุติขึ้นมา N 1000 , E 1000 , Z 10 เมื่อใส่ค่าพิกัดเสร็จ หมดทุกจุดจากนั้นให้กด Ctrl+G เพื่อทำการคำนวณค่าใหม่

จากนั้นโปรแกรมจะทำการคำนวณค่าพิกัดของแต่ละจุดออกมาให้ ขั้นตอนต่อไปเป็นการนำค่าพิกัดไปใช้กับโปรแกรม Autocad

ขั้นตอนต่อไปให้เลือกไปที่ File Export

 ทำการเลือกที่ Reduced Corrd หลังจากนั้นที่ Export Conversion ให้เลือกดังรูปโดยรูปแบบที่จะนำออกนั้นเป็นแบบ Point , N , E , Z ,Code จากนั้นกด OK

 ทำการเลือกที่อยู่ที่จะบันทึกไฟล์ จากนั้นใส่ชื่อไฟล์และกด Save จากนั้นก็เข้าไปเปิดไฟล์ในโปรแกรม Autocad