การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชฉวาง จ.นครศรีธรรมราช นัยนาท บุญยัง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

สรุปปัญหาและสาเหตุโดยย่อ จากการทบทวนข้อมูลในโปรแกรม HIVQUAL-T พบว่า CD4 และ VL ยังมีผลที่ต่ำกว่ามาตรฐาน วิเคราะห์สาเหตุพบว่าการซักประวัติผู้ป่วยไม่ได้ประวัติครอบคลุมตามตัวชี้วัดหลักของ HIVQUAL-T และไม่เป็นไปในแนวเดียวกัน ทางทีมสหวิชาชีพจึงได้ร่วมกันคิดออกแบบแผ่นต่อ OPD CARD ขึ้นมาใหม่ โดยให้ซักประวัติตามแบบในแผ่นต่อซึ่งจะได้ประวัติในแนวเดียวกัน ผลการตรวจ CD4 , VL ที่ผ่านมาก็จะอยู่ใน OPD CARD แยกตามวันที่ตรวจ ทำให้ย้อนไปดูยาก ทั้งแพทย์ พยาบาล และตัวผู้ป่วยเอง ทำให้การนัดเจาะเลือดตามแผนไม่ครอบคลุม ทางทีมก็ได้ร่วมกันคิดออกแบบ กราฟ ใส่ไว้ด้านหลังของบัตรผู้ป่วย เพื่อทำให้ดูง่าย ผู้ป่วยดูกราฟแล้วเกิดความตระหนักในการดูแลตนเอง และมาเจาะเลือดตามนัดมากขึ้น

เป้าหมาย 1.ตัวชี้วัดหลัก HIVQUAL-T มีผลความครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาได้แก่ ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ที่ได้รับยาต้านไวรัส ได้รับการประเมินหรือติดตาม Drug Adherence อย่างสม่ำเสมอ ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ได้รับข้อมูลคำแนะนำเรื่องการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย

เป้าหมาย 2.เพิ่มความครอบคลุมในการเจาะ CD4 , VL

การเปลี่ยนแปลง และปรับปรุง ประชุมทีมสหวิชาชีพ

การเปลี่ยนแปลง และปรับปรุง ด้านผู้ให้บริการ มีการซักประวัติผู้ป่วยเป็นไปในแนวเดียวกัน ละเอียดครอบคลุมตามมาตรฐานที่ผู้ป่วยควรได้รับ

การเปลี่ยนแปลง และปรับปรุง ด้านผู้รับบริการ สะดวกในการดูผลค่า CD4และVL ของตนเอง ทำให้มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองมากยิ่งขึ้น ผู้ป่วยสามารถมีการปฏิบัติตัวดีขึ้นเมื่อเห็นผลแนวโน้มของ CD4, VL ของตนเองแย่ลง ผู้ป่วยทราบแผนการเจาะเลือดครั้งต่อไปตามเดือนที่เขียนไว้ล่วงหน้าในกราฟ

การเปลี่ยนแปลง และปรับปรุง

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหามีค่าเพิ่มขึ้น จากการใช้แบบซักประวัติที่ได้พัฒนาขึ้น ตัวชี้วัด 53 54 55 ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ที่ได้รับยาต้านไวรัส ได้รับการประเมินหรือติดตาม Drug Adherence อย่างสม่ำเสมอ 88 94 96 ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 33 57 70 ร้อยละของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อ ได้รับข้อมูลคำแนะนำเรื่องการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย 97 99.05 99.07

ผลลัพธ์ แผนภูมิที่ 1 แสดงร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น)

ผลลัพธ์ แผนภูมิที่ 2 แสดงร้อยละของผู้ป่วยที่ได้ยาต้านไวรัส ได้รับการตรวจ VL 1 ครั้งในปี (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น)

บทเรียนที่ได้รับ การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ทีมผู้ดูแลผู้ป่วย ต้องทำงานเป็นทีม ร่วมกันวิเคราะห์แก้ไขปรับปรุงจะนำมาซึ่งการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และตัวผู้ป่วยเองต้องมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง จึงจะสามารถพัฒนางานให้ยั่งยืนตลอดไปได้