การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การสนับสนุนการเข้าถึงบริการสุขภาพ ของแรงงานข้ามชาติในรอบ 10 ปีที่ ผ่านมา-ปัจจุบัน- อนาคต.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Group Learning HIVQUAL-T Forum
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ไข้เลือดออก.
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ปี2554 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.

กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์ โรงพยาบาลแม่ใจ จังหวัดพะเยา

ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ ประเภท ปี 2550 ปี 2551 จำนวนผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนการรักษา 227 251 จำนวนผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์สะสม 174 210 จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยาต้านไวรัสเอดส์ 144 170 อัตราการจำหน่ายของผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ 17.24% 19% อัตราการตรวจพบเชื้อที่คลินิกนิรนาม(กรณีขอใบรับรองแพทย์) 2.5% 3% อัตราการติดเชื้อของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 0.9% 0.8%

สาเหตุที่ทำให้เกิด Poor Adherence ด้านระบบบริการ ด้านผู้ป่วย ระบบบริการ/รูปแบบไม่ชัดเจน ไม่มีเครื่องมือติดตาม ภาระงาน ไม่เปิดเผย ไม่มีผู้ดูแลที่บ้าน ระยะของโรค ระดับการรับรู้ ป่วยด้วยโรคติดเชื้อฉวยโอกาส งานยุ่ง

ผลลัพธ์ของ Poor Adherence อัตราการเสียชีวิต ปี 2549 =7.5% อัตราการ Admit ด้วยโรค OI ปี 2549 = 12.33%

เป้าหมาย ผู้ป่วยที่กินยาต้านไวรัสเอดส์ทุกคนมี ARV Adherence >95%

กลยุทธ์การส่งเสริม Adherence การเข้าถึงระบบบริการ การทำงานเป็นทีม กำหนดแนวทางการส่งเสริม Adherence สร้างเครื่องมือในการติดตาม Peer Group Motivation Csg.

แนวทางการส่งเสริม Drug Adherence ผู้ติดเชื้อ ที่ได้รับ ยาต้านไวรัส ประเมิน Drug Adherence มากกว่า 95% เข้ากลุ่มปกติ มากกว่า 95% น้อยกว่า 95% น้อยกว่า 95% Individual Counseling กิจกรรม Peer Support โดย กลุ่ม ผู้ติดเชื้อ ประเมิน Drug Adherence โดยแพทย์ พยาบาล เภสัชกร Motivational Interview ได้สาเหตุ แนวทาง แก้ไขปัญหา ได้สาเหตุ แนวทาง แก้ไขปัญหา

ผลที่เกิดจาก Good Adherence ด้านระบบบริการ ด้านผู้ป่วย มีการทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ มีแนวทางการส่งเสริม Adherence มีเครื่องมือในการติดตาม สนับสนุนอุปกรณ์ในการเตือนการกินยา มีการเตรียมผู้ป่วยและผู้ดูแล ให้เวลาในการตัดสินใจรักษา ได้รับข้อมูลครบถ้วน รอบด้าน และต่อเนื่อง มีแนวทางที่เป็นรูปธรรมในการกินยาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแต่ละคน มีความตระหนักในการกินยา

ผลลัพธ์ ผู้ป่วยมีสุขภาพดี สามารถดำเนินชีวิตได้ตามอัตภาพ อัตราการตายลดลง จากปี 2549=7.5% ปี 2550=4.8% ปี 2551=4.7% อัตราการป่วยด้วยโรค OI ลดลง ปี 2550=11.5% ปี 2551 =2.9% อัตรา ARV Adherence <95% ลดลง จาก ปี 2550= 0.8% ปี 2551=0.3% อัตราการดื้อยา ปี 2551= 2.4%

สิ่งที่ได้เรียนรู้ การทำงานเป็นทีม ความต่อเนื่องในการติดตาม เข้าใจธรรมชาติของความเป็นคน

สิ่งที่ต้องเฝ้าระวังต่อเนื่อง ด้านผู้ป่วย ด้านระบบบริการ มีสุขภาพดี ส่งผลให้ กลับมีพฤติกรรมเสี่ยงเดิม ลดความระมัดระวังในการดูแลสุขภาพ เพิ่มระยะเวลาในการแพร่เชื้อ การมีคู่ครองใหม่ ต้องการมีบุตร มีผู้ป่วยสะสมจำนวนมากขึ้น ส่งผลให้ เกิดความเคยชิน ละเลยการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย

สิ่งที่ท้าทาย การพัฒนาระบบบริการสำหรับกลุ่มที่ไม่เปิดเผย

กิจกรรม การติดตาม ARV Adherence