คำสั่งลำลอง
คำสั่งลำลอง เป็นคำสั่งที่อธิบายการทำงานของ โปรแกรม ไม่เน้นไวยกรณ์
ประโยชน์ของคำสั่งลำลอง แสดงแนวคิดในการทำงานของ โปรแกรม เมื่อไม่ต้องกังวลด้านไวยกรณ์จะทำให้ เข้าใจการทำงานของโปรแกรมมากขึ้น
หลักการใช้คำสั่งลำลอง ใช้คำสั้นๆ กระชับ สื่อความหมายชัดเจน คำเฉพาะต่างๆ เช่น ชื่อตัวแปรต้องใช้ชื่อ เดียวกันตลอดทั้งโปรแกรม จัดระยะของคำสั่งลำลองให้สวยงามและ เป็นระเบียบ
ตัวอย่างการใช้คำสั่งลำลอง จงเขียนคำสั่งลำลอง แสดงการตัดเกรดรายวิชา คอมพิวเตอร์เป็น 5 เกรดตั้งแต่ 0-4 โดยมี เงื่อนไข ดังนี้ ถ้าคะแนนตั้งแต่ 80 ขึ้นไปได้เกรด 4 ถ้าคะแนนตั้งแต่ 70 ขึ้นไปได้เกรด 3 ถ้าคะแนนตั้งแต่ 60 ขึ้นไปได้เกรด 2 ถ้าคะแนนตั้งแต่ 50 ขึ้นไปได้เกรด 1 ถ้าคะแนนไม่ถึง 50 ขึ้นไปได้เกรด 0
โปรแกรม ตัดเกรด ข้อมูลเข้า คะแนน ผลลัพธ์ เกรดที่ได้ เริ่ม รับ คะแนน If คะแนน >= 80 then { เกรด = ‘4’ } Else if คะแนน >= 70 then เกรด = ‘3’ Else if คะแนน >= 60 then เกรด = ‘2’ Else if คะแนน >= 50 then เกรด = ‘1’ Else เกรด = 0; Print เกรด จบ
ตัวอย่างการใช้คำสั่งลำลอง จงเขียนคำสั่งลำลอง แสดงการคำนวณภาษีจาก การซื้อสินค้า โดยรับรายได้จากผู้ใช้แล้วคำนวณ ภาษีตามเกณฑ์ดังนี้ รายได้ตั้งแต่ 1,000,000 เสียภาษีร้อยละ 7 รายได้ตั้งแต่ 500,000 บาทเสียภาษีร้อยละ 5 รายได้ต่ำกว่า 500,000 ไม่ต้องเสียภาษี
ข้อมูลเข้า รายได้ต่อปี ผลลัพธ์ ภาษีที่ต้องจ่าย เริ่ม โปรแกรม คำนวณภาษี ข้อมูลเข้า รายได้ต่อปี ผลลัพธ์ ภาษีที่ต้องจ่าย เริ่ม รับ รายได้ If รายได้ > 1000000 then { ภาษี = รายได้ * 7 / 100; } Else if รายได้ > 500000 then ภาษี = รายได้ * 5 / 100; Else ภาษี = 0; Print คุณต้องเสียภาษี = ภาษี จบ
การนำคำสั่งลำลองไปใช้ ตรวจสอบความคิดให้ถูกต้อง ให้ถอดคำสั่งลำลองไปเขียนโปรแกรมตาม ไวยกรณ์แต่ละภาษา