การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
MK201 Principles of Marketing
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
เงินนอกงบประมาณ.
การงบประมาณ (Budget).
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
การเงิน.
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
8. การใช้เงินสะสม.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขั้นตอนการดำเนินการใช้จ่ายเงินรายได้
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การบรรยายเรื่อง เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก และ การรายงานแบบ 102
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ที่มา : ของการพัฒนาระบบ 1. ยังไม่มีการติดตามรายรับที่จัดเก็บได้อย่าง จริงจัง ทำให้ไม่ทราบสถานการณ์ทางการเงินของ ส่วนงาน 2. การประมาณการรายรับสูงกว่ารายรับจริงที่
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ โดย กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ

ความหมาย วัตถุประสงค์ / ประโยชน์ แหล่งที่มาของเงินนอกงบประมาณ ประเภทของเงินนอกงบประมาณ การบริหารจัดการและการควบคุม

เงินนอกงบประมาณ หมายถึงเงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการ นอกเหนือจากเงินงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืน เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน

เงินนอกงบประมาณ สะดวกคล่องตัวในการเบิกจ่าย คล่องตัวในการดำเนินงาน ผ่อนคลายการควบคุม มีการกระจายอำนาจให้แก่ส่วนราชการ การบริหารบรรลุวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนเสริมภารกิจ กรณีเงินในงบประมาณจัดสรรไม่เพียงพอ

เงินนอกงบประมาณ พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.๒๔๙๑ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ กฎหมายเฉพาะ

พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.๒๔๙๑ เงินทุนหมุนเวียน เงินยืมทดรองราชการ เงินฝาก เงินขายบิล

เงินทุนหมุนเวียน หมายถึง ทุนที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการซึ่งอนุญาตให้นำรายรับสมทบไว้ใช้จ่ายได้ การจ่ายเงินเป็นทุนหรือทุนหมุนเวียนเพื่อการใดๆ ให้กระทำได้โดยกฎหมาย

เงินทุนหมุนเวียน การจัดตั้งเงินทุนหมุนเวียนต้องมีกฎหมายรองรับ พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พระราชบัญญัติเฉพาะ (กฎหมายพิเศษกำหนด) พระราชบัญญัติให้อำนาจกระทรวงการคลังรวมหรือ ยุบเลิกทุนหมุนเวียน พ.ศ.๒๕๔๓

เงินทุนหมุนเวียน การแบ่งกลุ่มของทุนหมุนเวียน ทุนหมุนเวียนเพื่อการให้กู้ยืมแก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ทุนหมุนเวียนเพื่อการจำหน่ายและการผลิตสินค้า ทุนหมุนเวียนเพื่อการบริการ ทุนหมุนเวียนเพื่อการสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ทุนหมุนเวียนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม

การบริหารงานแนวใหม่ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์

แนวทางการบริหารเงินนอกงบประมาณ การบริหารที่เน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน กำหนดกลยุทธ์และเป้าหมาย การปรับบทบาทการกำหนดกรอบการควบคุมเป็นการกำกับดูแลโดยนโยบายเพื่อถือปฏิบัติ กำหนดติดตามประเมินผล โดยการกำหนดตัวชี้วัดและผลสำเร็จของงาน การใช้ระบบบริหารงานแบบมีส่วนร่วม การบริหารความเสี่ยงเงินนอกงบประมาณ

แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสมัยใหม่ เน้นการดำเนินงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (Result Based) เพื่อให้เกิดการผลักดันกลยุทธ์และการพัฒนา การประเมินผลที่ครอบคลุม - ด้านการเงิน (Financial Measures) - ไม่ใช่การเงิน (Non-Financial Measures)

แนวทางการติดตามประเมินผลเงินทุนฯ เปลี่ยนจากการกำกับดูแล การควบคุมรายจ่าย มาเป็นการควบคุมผลงานของเงินทุนฯ หลักเกณฑ์ตามแนว Balanced Scorecard (BSC)

ด้านผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกค้า) Balanced Scorecard ด้านการเงิน ด้านผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกค้า) ด้านกระบวนการภายใน วิสัยทัศน์/ภารกิจ ด้านการบริหารพัฒนา

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล - 3’E - Good Governance มีระบบภูมิคุ้มกัน Internal Control

Q & A