Result-Based Management : RBM กลุ่มที่ 4 Result-Based Management : RBM
Result-Based Management : RBM รายชื่อสมาชิก 1. นางวารุณี เตยต่อวงศ์ ประธาน 2. นางศิริกุล กสิวิวัฒน์ สมาชิก 3. นางยศวดี อึ้งวิเชียร สมาชิก 4. นายบุญเวทย์ ศรีพวงใจ สมาชิก 5. น.ส.เนตรชนก เกษโรจน์ สมาชิก 6. นางอัญญาพร เลิศพงศาภรณ์ สมาชิก 7. น.ส.วิลาสินี หลงสกุล สมาชิก 8. นายอรรณพ วิสุทธิมรรค สมาชิก 9. นายอภิพันธุ์ ชี้เจริญ สมาชิก 10. นายอนุสรณ์ จิรพิทักษ์ สมาชิก 11. น.ส.ยุภาพร รอมไธสง สมาชิก 12. น.ส.สรัญญา รัตนโกเศศ เลขานุการกลุ่ม
มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ ตัวชี้วัด มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ ประเด็น ข้อเสนอแนะ KPI ถูกหน่วยงานอื่นแทรกแซง เช่น Healthy Thailand มีเอกภาพในการสั่งการ การกำหนดเป้าหมาย+เกณฑ์คะแนน (เกินความสามารถของหน่วยงานทำให้ต้องจ้าง ทปษ. >>ได้ผลงานแต่ outcome ???) ให้สามารถปรับเปลี่ยน KPI ให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจหน่วยงานในรอบปีนั้นๆ
มิติที่ 2 คุณภาพการให้บริการ ประเด็น ข้อเสนอแนะ การทุจริตประพฤติมิชอบ (บางหน่วยงานไม่มีกรณีร้องเรียน) ปรับตัวชี้วัดให้เหมาะสมกับส่วนราชการ + กรณีนี้ซ้ำซ้อนกับระบบการควบคุมภายใน โครงการราชการใสสะอาด ความพึงพอใจ (การประเมินผลล่าช้า การเก็บข้อมูลผิดกลุ่มเป้าหมาย) เร่งรัดให้เร็วขึ้นเพื่อให้สามารถดำเนินการเก็บข้อมูลได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายของส่วนราชการ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (ความชัดเจน การทำความเข้าใจ) สนง.ก.พ.ร. ให้ความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นรูปธรรม มีความชัดเจนมากขึ้น
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ประเด็น ข้อเสนอแนะ การประหยัดพลังงานมีการปรับขอบข่าย/ เงื่อนไขการดำเนินงานแต่ส่วนราชการไม่ได้รับทราบ มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ควรแจ้งให้ส่วนราชการทราบ การประหยัดพลังงานทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง(ในขณะที่ภาคราชการเป็น sector ที่ใช้พลังงานน้อยกว่าภาคอุตสาหกรรม/ ภาคขนส่ง) การกำหนดตัวชี้วัดควรพิจารณาความเหมาะสมถึงความคุ้มค่าของผลที่จะได้รับด้วย การลดค่าใช้จ่าย งบประมาณที่ได้ปัจจุบันแทบจะไม่พอต่อการดำเนินงาน แต่ตัวชี้วัดนี้ยังคงมีอยู่ทุกปี (ควรจะยกเลิก)
มิติที่ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ประเด็น ข้อเสนอแนะ การลดขั้นตอน/ระยะเวลา บางส่วนราชการได้ลดขั้นตอน/ระยะเวลามาก่อนที่จะมีการกำหนดเป็น KPI ทำให้ไม่สามารถลดได้ เนื่องจากจะทำให้คุณภาพ/ ประโยชน์ของราชการเสียหาย (ควรให้ส่วนราชการได้กำหนด KPI เอง แทนที่จะเป็น KPI ภาคบังคับ)
มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร ประเด็น ข้อเสนอแนะ การบริหารความเสี่ยง (ซ้ำซ้อนกับระบบการควบคุมภายในที่ สตง.กำหนดให้มีการรายงาน) - ยุบตัวชี้วัดในมิติ 4 ทั้งหมดให้ เหลือเพียง PMQA เนื่องจาก สะท้อนการพัฒนาองค์กร ทั้งหมด - มองเป็นภารกิจ paper มากกว่าให้ได้ผลงานที่แท้จริง
กระบวนการจัดทำคำรับรอง ประเด็น ความล่าช้าของการแจ้งกรอบการประเมินและการแจ้งผลการประเมินฯ ระยะเวลาการอุทธรณ์+แจ้งผลล่าช้า ทำให้ส่วนราชการปรับเปลี่ยนกระบวนการ/วิธีการล่าช้าด้วย การปรับน้ำหนักตัวชี้วัดกฎหมาย >> ก.พ.ร- เฉลี่ยนน.กับ KPI อื่น/ TRIS-ให้ตัดทิ้ง / เลขา ครม.- ให้รวมกับมิติ 1 การจัดลำดับ KPI ระยะเวลาการลงนามคำรับรอง + การ site visit กระชั้น ในขณะที่มีเวลา implement น้อยมาก แต่ส่วนราชการจะต้องจัดทำรายงานส่งให้ทันตามกำหนด ข้อเสนอแนะ ปรับแผนการทำงาน เพื่อให้ส่วนราชการ สามารถดำเนินการได้ สอดคล้องกับงบประมาณ สนง. ก.พ.ร. มีความ ชัดเจนก่อนที่จะแจ้งให้ ส่วนราชการปฏิบัติ และ แจ้งให้ส่วนราชการทราบ แต่เนิ่น ๆ สนง. ก.พ.ร. ลดขั้นตอน/ ระยะเวลาเรื่องนี้ (ควร แจ้งผลการอุทธรณ์ก่อน 6 เดือน)
กระบวนการจัดทำคำรับรอง (ต่อ) ประเด็น ข้อเสนอแนะ Desk Officer ไม่สามารถตอบคำถามได้อย่างถ่องแท้ (ให้คุยกับ ทปษ.โดยตรง) มีเอกภาพในการสั่งการ ระหว่างสำนักงาน ก.พ.ร. และ หน่วยงานที่เป็นเจ้าของตัวชี้วัด Desk Officer ควรเรียนรู้ไปกับ ทปษ. ด้วย มีการทำความเข้าใจกับส่วนราชการ ถึงระดับผู้ปฏิบัติ ก่อนมีการลงนาม คำรับรอง
การจัดสรรเงินรางวัล /เงินเพิ่มพิเศษ ประเด็น ข้อเสนอแนะ ความแตกต่างของการจัดสรรฯระหว่างผู้บริหาร+ผู้ปฏิบัติ เงินรางวัลที่จ่ายตรงบัญชีผู้บริหาร ควรจ่ายเข้ากองกลาง เพื่อให้มีความคล่องตัวในการบริหาร/ จัดสรรตามผลการปฏิบัติราชการจริง ผู้บริหารบางท่านไม่ได้เกี่ยวข้อง แต่มีส่วนได้ ไม่สะท้อนหลักการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (CCO ได้เท่ากับรองอธิบดีอื่น ๆ) ตำแหน่ง ชช. เป็นผู้รับผิดชอบ/เจ้าภาพ KPI / เป็น CCO ด้วยแต่ไม่ได้เท่ากับ บส. บก.
ที่ปรึกษา/ Third party ประเด็น ข้อเสนอแนะ ทปษ. - Deloitte Accenture TRIS สถาบันเพิ่มผลผลิต Third party - ม.ราชภัฎสวนดุสิต มสธ. PA ควรแจกแจงบทบาทหน้าที่ ของที่ปรึกษาสนง. ก.พ.ร.ให้ ชัดเจน บทบาทหลักของการ site visit ควรเป็น สนง.ก.พ.ร. ไม่ใช่ TRIS และ สนง.ก.พ.ร. ควรจะ มีความรู้ความเข้าใจด้วย วิธีการ/ ความรู้ใหม่ๆ ที่จะมีการ นำมาใช้ (เช่น PMQA) ควรทำ ความเข้าใจกับส่วนราชการแต่ เนิ่น ๆ (เตรียมความพร้อม ให้กับ กพร.น้อยก่อน)
Desk Officer ประเด็น ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ ก.พ.ร. มีความรู้ ไม่เพียงพอที่จะให้คำปรึกษา แนะนำกับส่วนราชการได้ คิดนอกกรอบและมีความยืดหยุ่นตามปัจจัย/ เหตุผลที่มีผลกระทบ ติดต่อสื่อสารยาก (ไม่ประจำ office) มีความพร้อมในการให้บริการเสมอ
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ การจัดทำ/ ปรับปรุง directory การแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ผ่าน e-mail อธิบดีควรเป็น CCO มีการประชุมพบปะกันระหว่างสำนักงาน ก.พ.ร. และกลุ่ม ก.พ.ร. น้อย มากขึ้น