ข้อสังเกตและข้อควรปฏิบัติ ในการตรวจประเมินคุณภาพสถานศึกษา ข้อสังเกตและข้อควรปฏิบัติ ในการตรวจประเมินคุณภาพสถานศึกษา นางผ่องพรรณ จรัสจินดารัตน์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
1. ครูที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ 1. ครูที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ ไม่เข้าใจความหมายของตัวบ่งชี้ ไม่เข้าใจความหมายของความตระหนัก ความพยายาม ผลสัมฤทธิ์ วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผล ตามตัวบ่งชี้ วิธีการเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้
2. ข้อมูลของสถานศึกษา ไม่ตรงกันระหว่างข้อมูลใน SAR กับการสรุปรายงาน 2. ข้อมูลของสถานศึกษา ไม่ตรงกันระหว่างข้อมูลใน SAR กับการสรุปรายงาน ฐานการคิดค่าร้อยละในตัวบ่งชี้
3. ศักยภาพผู้ประเมิน ความเข้าใจตัวบ่งชี้ มาตรฐานการอาชีวศึกษา ความเข้าใจตัวบ่งชี้ มาตรฐานการอาชีวศึกษา ความสามารถในการสืบค้นข้อมูล ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการอาชีวศึกษากับมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.
4. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในปีที่ผ่านมากับปีที่รับการตรวจประเมิน ในตัวบ่งชี้ที่ไม่มีผลสัมฤทธิ์เปรียบเทียบกันได้ เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 13 20 21 22 24 28 ให้สรุปค่าผลคะแนนการพัฒนาเป็น 1 ในกรณี ที่ผลการประเมินตนเองได้ระดับ ดี และ พอใช้
4. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในปีที่ผ่านมากับปีที่รับการตรวจประเมิน หากตัวบ่งชี้ในปีที่ผ่านมามีหลายตัว ให้ใช้ค่าฐานนิยมสรุประดับผลสัมฤทธิ์ แล้วนำไปเปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์ในปีที่รับการตรวจ จึงให้ค่าคะแนน
เช่น ในมาตรฐานเดิม ที่ 3 ผู้เรียนมีคุณธรรมฯ ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความมีวินัยในการปฏิบัติงาน ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความรัก ความภูมิใจและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพที่เรียน ตรงกับตัวบ่งชี้ที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
3.1 ผลการประเมิน ระดับดี 3.2 ผลการประเมิน ระดับพอใช้ 3.3 ผลการประเมิน ระดับพอใช้ สรุปผลการประเมิน ระดับพอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลการประเมินระดับ ดี
5. การให้ค่าคะแนนในการดำเนินการ ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะ 5. การให้ค่าคะแนนในการดำเนินการ ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะ ในกรณีมาตรฐานที่ไม่มีข้อเสนอแนะ ให้ดู โครงการ กิจกรรม และการปฏิบัติงาน ที่ดำเนินการเพื่อผดุงให้สถานศึกษาบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานที่กำหนด