สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพ บริการปฐมภูมิ (On top payment) 1,396 ลบ. (28.88บ./ปชก.) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการปฐมภูมิ 483 ลบ. (10บ./ปชก.) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1,879 ลบ.(38.88 บ./ปชก.) 2.1 พัฒนา ศักยภาพ การจัดบริการ ปฐมภูมิ 300ลบ.) ( เขต =21, ) 2.2 สนับสนุน การผลิต พัฒนาและ กระจาย บุคลากร (183 ลบ.) กองทุนพัฒนา ระบบบริการ ปฐมภูมิ สปสช.เขต =1 20,877, สนับสนุน รพ. สต.และหน่วย บริการ ปฐมภูมิอื่นๆ ตาม เกณฑ์ที่กำหนด เขต = 99,526,722 งบจัดสรร ตามเกณฑ์ คุณภาพเชิง กระบวนการ (483 ลบ.) PPA งบ P&P ปี 2555

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 3 ปี2554ปี2555 เป็นการจ่ายงบเพิ่มเติม ให้ PCU ที่ผ่านเกณฑ์ เท่านั้น  ส่วนกลางกำหนด เกณฑ์  ดำเนินการโดย สปสช. เขต  เบิกจ่ายงบพร้อมกัน ภายใต้วงเงิน ระดับประเทศที่ ส่วนกลาง = คงหลักการเดิม  กระจายอำนาจการบริหารจัดการไปที่เขต  ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์กลางระดับประเทศ  สปสช.เขตกำหนดเกณฑ์ระดับเขตเพิ่มเติม  ดำเนินการและเบิกจ่ายงบประมาณ โดย สปสช.เขต ภายใต้วงเงินระดับเขต  งบเหลือจากการจัดสรรคืนส่วนกลาง ความแตกต่าง ปี 2554 vs ปี 2555 งบ On top payment

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพ บริการปฐมภูมิ (On top payment) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการปฐมภูมิ งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1. มี DHS ที่ สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ ฯลฯ 1. มีแพทย์รพช./PCU ได้รับการอบรม FM 100 คน 2. มี รพช. 50 แห่งเป็น สถาบันร่วมผลิตและ พัฒนากำลังคน ฯลฯ กองทุนพัฒนา ระบบบริการ ปฐมภูมิ สปสช.เขต 1.มี CMU/clinic ผ่าน เกณฑ์ 0 แห่ง 2.มี PCU (รพ.สต.) ตาม เกณฑ์ 650 แห่ง 3.ผลผลิตเชิงกระบวนการ และผลผลิตบริการตาม เกณฑ์ 650 แห่ง การทำงานและ ระบบข้อมูล บริการปฐมภูมิ มีคุณภาพ มากขึ้น PPA งบ P&P ปี 2555 ผลผลิต สำคัญ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2555 ( ส่วนกลา ง )

5 งบตามเกณฑ์คุณภาพงบพัฒนาศักยภาพฯงบ on top payment จัดสรรวงเงินระดับเขต ผ่านความเห็นชอบ จาก อปสข. กำหนดเกณฑ์กลางวางกรอบแนวทางเสนอเมนูตัวชี้วัด จัดทำชุดเกณฑ์กลาง+ เขต & แนวทาง ระดับเขต จัดทำแนวทางการ พัฒนาบริการปฐมภูมิ ระดับเขต ตกลงตัวชี้วัดคุณภาพ เชิงกระบวนการร่วมกับ สาขาจังหวัด-จัดสรร วงเงินระดับจังหวัด ชี้แจงจังหวัด- หน่วยบริการ ดำเนินการตาม แนวทาง ชี้แจงหน่วยบริการ PCU ประเมินศักยภาพ ตนเอง – CUP รับรอง ข้อมูล - ส่งจังหวัด ตรวจสอบ-เบิกจ่าย- สรุป เบิกจ่าย-สรุป ชี้แจงหน่วยบริการ- ตรวจสอบผลงาน- เบิกจ่ายเงินให้หน่วย บริการ-สรุปส่งเขต รับรองข้อมูล PCU Profile - ส่งเขต ดำเนินการตาม แนวทาง/โครงการ – สรุปและส่งผลงาน ส่งผลงานตามตัวชี้วัด ส่งให้จังหวัด ส่วน กลาง สปสช. เขต จังหวัด หน่วย บริการ สรุประดับเขต

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แสดงจำนวนและร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ on top payment * *เป้าหมายปี 2555 (จำนวนหน่วยบริการPC 1010 แห่ง)ประมาณผ่านเกณฑ์ 631 แห่ง สำรอง 19 แห่ง รวมตั้งป้าหมาย= 650 แห่ง คิดเป็น 64.4% จังหวัดหน่วย บริการ ปี 2553ปี 2554 คาดหมาย จำนวนผ่าน ร้อยละ จำนวนผ่าน ร้อยละ ราชบุรี เพชรบุรี สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธ์ กาญจนบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร รวม **

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) เกณฑ์ประเมินกลาง : เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องมีครบถ้วนตามที่กำหนด เกณฑ์ประเมินระดับพื้นที่ : เป็นเกณฑ์เพิ่มเติมที่คณะกรรมการหรือ คณะทำงานระดับเขตที่อปสข. หรือ สปสช.เขต แต่งตั้ง กำหนดให้มีตามความพร้อมหรือนโยบายของแต่ละพื้นที่ หรือ กำหนดเป็นเงื่อนไขหรือรายละเอียดเพิ่มเติมจากเกณฑ์กลาง โดยอาจใช้เกณฑ์และเงื่อนไขรอง ปี 2554 เป็นฐานในการ พิจารณา เกณฑ์และเงื่อนไขการประเมิน ปี 2555

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน   ศักยภาพพื้นฐาน : 1.เป็นหน่วยบริการที่ผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเกณฑ์การขึ้น ทะเบียน 2. มี NPอย่างน้อยแห่งละ1 คน 3. สัดส่วนพยาบาลต่อปชก.UC ไม่เกิน 1:5,000 คน (ไม่ยืดหยุ่น) 4. สัดส่วนบุคลากรปฏิบัติงานประจำต่อปชก.UC ไม่เกิน 1:1,250 คน 5. มีแพทย์(พ.เวชศาสตร์ครอบครัว/พ.ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร เวชศาสตร์ครอบครัว/แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป) ที่ได้รับ มอบหมายให้ดูแล รับผิดชอบ และ สนับสนุนหน่วยบริการปฐม ภูมิเป็นประจำ(ไม่ใช่แพทย์หมุนเวียน) สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรไม่เกิน 1:10,000 คน ( ยืดหยุ่นไม่ เกิน 1: 12,000 คน แต่จ่ายอัตรา ปชก. ตามจริงแต่ไม่เกิน 10,000 เช่นเดียวกับปี 2554)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน ศักยภาพการจัดบริการ : 1. มีบริการโรคเรื้อรัง (DM, HT) เชิงรุกในชุมชนร่วมกับ กองทุนระดับท้องถิ่น และมีแผนงาน/โครงการ/ผลงาน ที่มีงบประมาณของกองทุนระดับท้องถิ่นร่วมสมทบ 2. มีการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่องจากหน่วยบริการ ประจำในพื้นที่ โดยมีทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งมี ข้อมูลที่จำเป็นขั้นต่ำ ได้แก่ รายชื่อ การรักษาที่จำเป็น วันนัดหมาย และข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นอื่นๆ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน ศักยภาพการบริหาร :   มีคณะกรรมการบริหารหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ท้องถิ่น และชุมชนมีส่วนร่วม   มีการประชุมเป็นประจำอย่างน้อย 2 เดือน / ครั้ง   มีบทบาทสนับสนุน รพ. สต. อย่างเป็นรูปธรรม

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เกณฑ์พื้นที่ 1. คุณภาพ และความชัดเจนของการมีแพทย์ ให้การดูแลหน่วยบริการปฐมภูมิ 1.1 มีการเยี่ยม หน่วยบริการปฐมภูมิ อย่างน้อย เดือนละ1 ครั้ง กรณีไม่ได้ลงเยี่ยมพื้นที่อาจนัด หมายประชุม/มีกิจกรรม case conference 1.2 สร้างระบบ consult อย่างเป็นรูปธรรม 1.3 มีหลักฐานการconsult ได้แก่ consult แพทย์ อะไร case อะไร ผลเป็นอย่างไร

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 2. ทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีผลการตรวจ Lab ที่จำเป็น ขั้นต่ำ(ในรอบ1 ปี ผู้ป่วยDM ต้องมีผลการตรวจน้ำตาล (DTX, FBS ) และ BP อย่างน้อย 1 ครั้ง ผู้ป่วยHT ต้องค่า BP และต้องได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน) 3. การเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการเยี่ยม โดยจนท. 4. มีเภสัชกรช่วยเสริมการจัดระบบยาของรพสต.โดยไม่มี ยาหมดอายุ 5.จัดให้มีบริการ Home ward ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง / ผู้พิการ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สปสช. เขต สปสช. ส่วนกลาง สปสช.สาขา จังหวัด/ สสจ./สสอ. 13 หน่วย บริการ (2) ชุดเกณฑ์กลาง+เกณฑ์ เขตเพิ่มเติม ผ่านความเห็นชอบ อปสข. จัดสรรวงเงินระดับจังหวัด (5) ตรวจสอบ-สุ่มลงตรวจ ประเมินตามเกณฑ์ โอนเงินแก่หน่วยบริการ แจ้งผลการประเมินแก่ จังหวัด/หน่วยบริการ (1) กำหนดเกณฑ์กลาง จัดสรรวงเงินให้เขต (3) PCU ประเมินตนเองตาม PCU Profile ปี 55 CUP รับรองข้อมูลของ PCU ส่งจังหวัด (4) ตรวจสอบ และรับรอง PCU Profile ส่งเขต (6) แจ้งเกณฑ์ประเมินของเขต สรุปผลงาน จำนวนหน่วย+งบ งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ ( 0n top)