การติดตามการใช้จ่าย งบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สตง.มีแผนลงตรวจงบค่าเสื่อม ปี 2548- 2555 ในจังหวัดเพชรบุรี ประมาณเดือนพฤษภาคม 2556 ว่ามีการใช้งบประมาณเป็นไปตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่
การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย ของโรงพยาบาล (Unit Cost) จังหวัดเพชรบุรี
การดำเนินการในปีงบประมาณ 2555 1. มีนโยบายให้ รพ.ทุกแห่งมีการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย ปีงบประมาณ 2554 ของ รพ. ทุกแห่ง 2. ให้โรงพยาบาลทั้ง 8 แห่ง สามารถจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำ ได้ครบ โดยมี อ.อุดมศักดิ์ แสงวณิช รพ.ประจวบฯ เป็น ที่ปรึกษา
นโยบายการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) ปี 2556 4 กค.55
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง จังหวัดเพชรบุรี 31 ธันวาคม 2555
Current Ratio เกณฑ์ ≥ 1.5
Quick Ratio เกณฑ์ ≥ 1
Cash Ratio เกณฑ์ ≥ 0.8
30 กันยายน 2553 267,624,997.42 บาท 30 กันยายน 2554 254,074,282.86 บาท 30 กันยายน 2555 249,914,082.07 บาท 31 ธันวาคม 2555 294,775,200.03 บาท
ทุนสำรองสุทธิ (Net Working Capital) ของโรงพยาบาลชุมชน
I/E Ratio เกณฑ์ ≥ 1
เงินบำรุงคงเหลือ (ปลอดภาระ) (31 ธค.55)
ผลงานการให้บริการ ปี 2556 (ตค.55-ธค.56) ผลงานการให้บริการ ปี 2556 (ตค.55-ธค.56) รพ. ผู้ป่วยนอก (ครั้ง) ผู้ป่วยใน (คน) ผู้ป่วยใน (วัน) รพ.พระจอมเกล้าฯ 90,468 7,389 35,270 รพ.ชะอำ 36,648 1,473 3,556 รพ.ท่ายาง 34,336 1,071 2,990 รพ.เขาย้อย 21,646 566 1,766 รพ.หนองหญ้าปล้อง 10,442 339 1,034 รพ.บ้านลาด 37,796 519 1,850 รพ.บ้านแหลม 25,195 661 1,776 รพ.แก่งกระจาน 15,327 445 1,084
CMI (ตค.-ธค.55)
อัตราการครองเตียง
ระดับภาวะวิกฤติ
สวัสดีค่ะ