การบริหารสภาพคล่อง ด้าน การเงินการคลัง รพ. แก่งกระจาน ปีงบประมาณ 2551
เจ้าหนี้ = 5,086, บาท ณ 31 มกราคม 2551
1. ค่ารักษาตามจ่าย 1,984, บาท 2. ค่ายา 1,320, บาท 3. ค่าตอบแทน 1,062, บาท 4. ค่าจ้างชั่วคราว 720, บาท 5. ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรอื่น ๆ 666, บาท 6. ค่าเวชภัณฑ์ / วัสดุการแพทย์ 666, บาท 7. ค่าใช้สอยอื่น ๆ 561, บาท 8. ค่าสาธารณูปโภค 287, บาท 9. ค่าวัสดุทั่วไป 128, บาท 10. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 68, บาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 10 อันดับแรก ตั้งแต่ ตุลาคม 2550 ถึง มกราคม 2551
ลูกหนี้ค่ารักษา = 1,876, ณ 31 มกราคม 2551
ประเด็นปัญหา ด้านโครงสร้างรายได้จากเงิน UC ( จำนวนประชากร UC ที่ขึ้นทะเบียน ณ ต. ค จำนวน 22,333 บัตร ) สัดส่วนสินทรัพย์ที่เป็นเงินสดต่อหนี้สิน ไม่สมดุลขาดสภาพคล่องในการชำระ หนี้ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 4,222, บ. หนี้สิน จำนวน 5,086, บ. แผนการปรับปรุงการบริหารด้าน การเงินการคลัง ประจำปี งบประมาณ 2551 ร. พ. แก่งกระจาน
1. รณรงค์เพื่อค้นหาและลงทะเบียนฯ กับกลุ่มประชากรสิทธิ์ว่าง และสิทธิ์ไม่ตรงกับที่อยู่จริง 1.1 กลุ่มประชากรสิทธิ์ว่าง ณ ธันวาคม 2550 จำนวน 589 ราย 1.2 เป้าหมาย 90% ของประชากรสิทธิ์ว่าง 422 ราย เท่ากับ 886,200.- บ. (422 x 2100 ) 2. ประชาสัมพันธ์ลงทะเบียนระบบจ่ายตรงสวัสดิการข้าราชการ 2.2 สิทธิข้าราชการในเขต อ. แก่งกระจาน 1357 ลงทะเบียน ณ 1 ก. พ. 51 =1486 ราย 2.1 รายได้ระบบจ่ายตรง ต. ค.50 – ม. ค.51 จำนวน 1457 ครั้ง = 516,483 บาท เฉลี่ย 129,120 บ / ด. 3. เพิ่มประสิทธิภาพระบบการส่งข้อมูลและการบันทึกรหัสเวช ระเบียนเพื่อขอรับเงินชดเชย สปสช. ราชบุรี 4. เพิ่มประสิทธิภาพการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก 4.1 เป้าหมาย 100 ราย / เดือน คาดจะได้รับ 240,000 บาท 4.2 คลินิกฝังเข็ม เป่าหมาย วันละ 10 รายๆ ละ 300 บาท = 90,000 บ / ด. 5. ขอรับเงินช่วยเหลือ (CF) จากกองทุน สสจ. เพชรบุรี, จาก สปสช. แผนการปรับปรุงประสิทธิภาพบริหาร ด้านการเงินการคลัง รพ. แก่งกระจาน ปีงบประมาณ 2551
1. สภาวะสถานการณ์ด้านการเงินการคลังมีค่า ระดับ 6 ( จะดีขึ้นภายใน 3 เดือน ) 2. ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่อง (QR,CR,I/E) 2.1 QR <1 ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ต้องเฝ้า ระวัง 2.2 CR <1.5 ขาดสภาพคล่องในการชำระหนี้ ระยะสั้น 2.3 I/E >1 รายรับต่อรายจ่ายอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีประสิทธิภาพในการบริหารรายรับ 2.4 แนวโน้มคาดว่าจะดีขึ้นตามลำดับ หาก สามารถควบคุมวินัยทางการเงินได้ 3. ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร 3.1 อัตราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร : รายจ่าย ดำเนินงาน อยู่ในอัตราสูง ต้องเฝ้าระวัง 3.2 ต้นทุน OPD มีอัตราสูงกว่าค่าเฉลี่ย ต้องเฝ้า ระวัง และแก้ไขต่อไป 3.3 ต้นทุน IPD มีอัตราสูงกว่าค่าเฉลี่ย ต้องเฝ้า ระวัง และแก้ไขต่อไป บทสรุปสำหรับ ผู้บริหาร