ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS)
Advertisements

Getting Started with e-Learning
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
E-Learning.
E – Assignment System ข้อเสนอโครงงาน และ รายงานความก้าวหน้า
โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
ICT For Art’s Ed ระดับของการใช้งาน ICT ของ ครูศิลปะ ค้นหาสิ่งที่มีอยู่แล้ว นำไปใช้ในการออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ ( ใส่ในแผนฯ ) เข้าระบบเครือข่าย ICT ใช้งาน.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
หน่วยที่ 5 ศูนย์บริการแท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอน
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การประยุกต์ใช้งานระบบการจัดการเนื้อหาเว็บและแนวโน้มในอนาคต
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
Asst.Prof.Dr.Surasak Mungsing
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
ตำรวจภูธรภาค 7 กับการนำ Mambo มาใช้พัฒนาเว็บไซต์ของสถานีตำรวจในสังกัด
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
จากกระดานชนวนสู่กระดานอิเล็กทรอนิกส์
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
แนะนำภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูล
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
เทคโนโลยีการศึกษายุคอีนำไอ้
ระบบการเรียนการสอนแบบ LCMS Learning Content Management System ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การเขียนบทความทางวิชาการ
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
การเขียนบทความทางวิชาการ
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
แนวทางการพัฒนา e-Learning เพื่อการศึกษา ยุค e-Learning 2.0
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
Content Management System with Joomla
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ ความรู้ : กรณีศึกษา ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร.
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
การใช้งานระบบ TU Moodle
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
๑ - ๒ พ. ค. ๕๗ น. ต. ณฤทธิ์ บุญทาเลิศ นายทหารปฏิบัติการ แผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ. ยศ. ทร.
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ OS Commerce สำหรับงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย อ. ประมุข นิภารักษ์ วันศุกร์ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น. ห้องปฏิบัติการ.
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
LOGO สื่อการเรียนการสอน เรื่อง Learning C Programming โดย อาจารย์สุพัตรา ชุมประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
การประเมินความเป็นเว็บช่วยสอน (Evaluation of Web-Based Instructin)
ADDIE Model.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
Static Website รูปแบบของเว็บไซต์ Dynamic Website.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
LOGO Open Source Software ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Your Company Slogan.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
เทคนิคการสอนยุค IT ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com

ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Web-Based Instruction E-Learning : Web LMS : Moodle CMS : Mambo , PHP nuke LCMS : A-Tutor Learning Management System

Moodle M Module O Object O Oriented D Dynamic L Learning E Environment

Moodle คืออะไร ??? Course Management System Learning Management System Open Source (Free ware) PHP Programming Mr. Marthin ดร.วิมลลักษณ์ สิงหนาท ผู้พัฒนาระบบภาษาไทย

ทำไมต้อง Moodle ?? Free ง่ายสำหรับครู Open Source LMS Online ชมรม Moodle E-Learning ประเทศไทย

LMS : Learning Management System เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนต่างๆ ในการออนไลน์ ตั้งแต่เนื้อหา การลงทะเบียน การเก็บข้อมูล การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่น อีเมล์ กระดานข่าว ห้องสนทนา เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูล ที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ผู้สอน ผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ

CMS : Content Management System เป็นระบบจัดการเนื้อหาวิชาที่เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้จัดทำขึ้น และนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลเหมือน LMS หรือผู้สอนจัดทำขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอนสามารถจัดการบริหาร เพิ่มเติมเนื้อหา ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเอง อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอนเพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบเข้ามาช่วย

ความแตกต่างระหว่าง CMS/LMS 1.       การบริหารจัดการทั้งระบบ 2.       กระบวนการจัดการสมบูรณ์แบบ องค์ประกอบเต็มรูปแบบ 3.       ดำเนินการด้วยบุคลากรจำนวนมาก 4.       ค่าใช้จ่ายการดำเนินการสูง 5.       เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ 6.       ใช้เป็นสื่อหลักในการเรียนการสอน 7.       เนื้อหามาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญการ 8.       การผลิตยุ่งยากและใช้เวลานาน 9.       การสร้างเน้นการทำงานกับเครื่องแม่ข่าย ** **ความรับผิดชอบอยู่ที่องค์กรหรือหน่วยงาน

Web Programming HTML,DHTML Pert, CGI, JSP : Java Server Page ASP : Active Server Page PHP : Professional Home page Active Server

Web Authoring Frontpage Dreamweaver Namo Net Object Homesite Active Client

วิธีการใช้งาน Moodle แบบ Offline แบบ Online การจำลองเครื่องด้วย AppServ การติดตั้งฐานข้อมูลด้วย PHP MyAdmin การติดตั้ง Moodle ใน แบบ Online การติดตั้ง Moodle ใน Server การติดตั้งฐานข้อมูล การติดตั้งค่าต่าง ๆ เพื่อใช้งาน

การจัดการระบบ Moodle การตั้งค่า สมาชิก การสำรองข้อมูล การกู้คืน รายวิชาทั้งหมด บันทึกการใช้งานเว็บ ไฟล์ของเว็บไซต์

การพัฒนาบทเรียนด้วย Moodle การเพิ่มแหล่งข้อมูล Web Page, Web Site Label ฯลฯ การเพิ่มกิจกรรม กระดานข่าว, ห้องสนทนา, โพล แบบทดสอบ, แบบสอบถาม, การบ้าน, บทเรียนสำเร็จรูป ฯลฯ การเพิ่มบล็อก กิจกรรมล่าสุด, สมาชิกออนไลน์, เข้าสู่ระบบ ฯลฯ

วิทยากร Prachyanun Nilsook, Ph.D Ph.D. in Educational and Communications Technology prachyanun@hotmail.com http//www.prachyanun.com 01-7037515