ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย 2. ปฏิรูป ทศวรรษที่ 2 ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) : ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
พระราชดำรัส ของพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 พ.ศ.2427 “เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเป็นต้น ลงไปจนถึงราษฎรที่ต่ำที่สุด จะได้มีโอกาสเล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉะนั้นจึงขอบอกได้ว่า การเล่าเรียนในบ้านเรานี้ จะเป็นข้อสำคัญที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุตสาห์จัดให้เจริญขึ้นจงได้” พระราชดำรัส ของพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 พ.ศ.2427
หลักการและกรอบแนวคิด การปฏิรูปรอบที่ 2 (2552-2561) เน้นปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้ และเสนอกลไกที่จะก่อให้เกิดผลต่อการพัฒนาการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และพิจารณาระบบการศึกษาและการเรียนรู้ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบการพัฒนาประเทศ ซึ่งต้องเชื่อมโยงกับการพัฒนาระบบอื่น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง เกษตรกรรม สาธารณสุข การจ้างงาน เป็นต้น
คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ วิสัยทัศน์ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เป้าหมาย ปี 2561 ภายในปี 2561 มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นประเด็นหลัก 3 ประการ คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม
เป้าของการปฏิรูป: ปฏิรูปด้านใดบ้าง
ระบบบริหารจัดการ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ หลักสูตร คุณภาพ เด็กไทย/ คนไทย -สมอง -คุณลักษณะ -สมรรถนะ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ ครู/ กระบวนการสอน
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 1 การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ คุณลักษณะคนไทยยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน และมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึกและภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รังเกียจการทุจริต และต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง และสามารถก้าวทันโลก
การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ 2 การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ให้มีลักษณะดังนี้ เป็นผู้เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความสามารถ มีใจรักในวิชาชีพครู สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณธรรม มาตรฐาน เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน มีการพัฒนาตนเองและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง The 7 Pillars
แนวปฏิบัติทั่วไป(ประเทศ) พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมครูให้ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองด้านการศึกษาต่อ / ศึกษาดูงาน คืนครูให้แก่นักเรียนโดยลดภาระงานอื่นที่ไม่จำเป็น และจัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอ ปรับปรุงเกณฑ์กำหนดอัตราครู โดยพิจารณาจากภาระงาน และจัดให้มีจำนวนครูเพียงพอตามเกณฑ์ และมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน จัดกองทุนส่งเสริมครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อขวัญและกำลังใจครู
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 3 การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ ยุคใหม่ให้มีลักษณะ ดังนี้ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณธรรม ที่จัดระบบการศึกษาเรียนรู้และการวัดประเมินผลการศึกษาเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันโดยให้มีการวัดผลระดับชาติในชั้นปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้น และนำผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน สามารถจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กิจกรรม การวัดและประเมินผลทุกระดับอย่างมีคุณภาพ เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาให้สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนอย่างหลากหลายในรูปแบบที่เหมาะสมกับศักยภาพและความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกและนำผลมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยสร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาสากลเป็นภาษาที่สอง และสนับสนุนการเรียนรู้ภาษาที่สาม เช่น ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน ภาษาที่สนใจ ฯลฯ
กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ(ที่ดี คืออย่างไร) การสร้างความตระหนักรู้ในกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง/ผู้ปกครอง ปฏิทินการขับเคลื่อนหลักสูตรในรอบปี(1-3 ปีแรก) กระบวนการ KM ในการใช้หลักสูตร/ การขับเคลื่อนแบบมุ่งสัมฤทธิ์/ขับเคลื่อนอิงหลักวิชา/ระบบ MOU กระบวนการจัดการเรียนรู้/มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือเด็กเพื่อส่งเสริมสู่ความเป็นเลิศ และแก้ปัญหาเด็กอ่อน/เด็กแถวหลัง/เด็กกลุ่มด้อยโอกาส การกำกับ ติดตามและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ การนำผลการกำกับติดตามและประเมิน สู่ การปรับปรุง-พัฒนา
แหล่งเรียนรู้ บ้าน กิจกรรมชุมนุม โรงเรียน ชุมชน ห้องเรียน บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก ชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ 4 มีการกระจายอำนาจ เน้นการมีส่วนร่วม มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหารเชิงคุณภาพ มีการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Demand side) การใช้แนวทางการเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ 1) บริหารงานอย่างเป็นระบบ 2) ให้ความสำคัญกับงานวิจัยและพัฒนา หรืองานสร้างสรรค์ 3) มีปฏิทินป้องกันความเสี่ยง /ปฏิทินงาน
ปัญหา-จุดอ่อนของเรา ความอ่อนแอของการจัดการศึกษา ณ วันนี้ : เราขับเคลื่อนหลักสูตรได้ยอดเยี่ยมเพียงใด ?
จุดเน้น หลักสูตร 2551
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปั๊มตรา ทีละดวง ก่อนจบ ไทย คณิต สังคม วิทย์ การงาน ศิลปะ พลานามัย ภาษา รักชาติฯ ซื่อสัตย์ฯ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นใน การทำงาน รักความ เป็นไทย มีจิต สาธารณะ ทักษะ สื่อสาร ทักษะ การคิด ทักษะ แก้ปัญหา ทักษะ การใช้ชีวิต ทักษะ ICT ปั๊มตรา ทีละดวง ก่อนจบ
ที่ผ่านมา การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นด้านใด และ ประสบความสำเร็จด้านใด ที่ผ่านมา การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นด้านใด และ ประสบความสำเร็จด้านใด ความรู้-ความคิด คุณลักษณะ บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก ทักษะปฏิบัติ/สมรรถนะ
มุ่งพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคมไทย Goal หลักสูตรอาชีวศึกษา มุ่งพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต สร้างสรรค์งานอาชีพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคมไทย บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก
อาชีวศึกษาสำเร็จส่วนใด รู้-เข้าใจ ทักษะ ทำได้ นำไปใช้ในชีวิต คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก
จงตอบคำถามต่อไปนี้ “คุณลักษณะเด็กไทยตามแนวปฏิรูป” สอดคล้องกับหลักสูตร 2551 หรือไม่ สอดคล้องกับมาตรฐานประเมินภายนอก สมศ.หรือไม่ เครือข่ายผู้ปกครองรับทราบหรือไม่ แกนนำท้องถิ่น/ชุมชน รับทราบหรือไม่ โรงเรียนควรกำหนดคุณลักษณะที่เป็นอัตลักษณ์หรือไม่ ชุดกิจกรรมพัฒนาควรมีหรือไม่ ใครเป็นคนใช้ชุดกิจกรรม ควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กแบบเสริมพลังอำนาจ หรือไม่
ผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร (ที่สมบูรณ์/ในอุดมคติ คืออย่างไร) ความรู้ในเนื้อหาสาระ ความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ ทักษะในการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ด้วยตนเอง(น้ำหนัก 5 ส่วน) คุณลักษณะ/สมรรถนะที่พึงประสงค์ ตามความคาดหวังของประเทศ(น้ำหนัก 4 ส่วน) คุณลักษณะ/สมรรถนะ/อัตลักษณ์ ที่พึงประสงค์ ตามความคาดหวังของท้องถิ่น(น้ำหนัก 1 ส่วน)
การตัดสินคุณภาพโรงเรียน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ผลประเมินกลุ่มสาระ(5 ส่วน)......... 1 2 3 4 ผลการประเมินคุณลักษณะและสมรรถนะ(4 ส่วน) 1 2 3 4 ผลประเมินคุณลักษณะ/สมรรถนะ อัตลักษณ์(1 ส่วน) 1 2 3 4
ภาคผนวก อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
อัตลักษณ์ ลูก สก. มีภาวะผู้นำ สุภาพบุรุษ ควรตกลงกัน เรื่อง อัตลักษณ์
รักเมืองนนท์ รักษ์สิ่งแวดล้อม อัตลักษณ์ ลูกนนทบุรี ควรตกลงกัน เรื่อง อัตลักษณ์
อัตลักษณ์ลูกไทยรัฐวิทยา “ประชาธิปไตย อดทนต่อความเห็นที่แตกต่าง กล้าต่อสู้ในสิ่งที่ถูกต้อง” ควรตกลงกัน เรื่อง อัตลักษณ์
อัตลักษณ์ “ลูกเบญจมฯ” “ประชาธิปไตย เคารพในสิทธิความเป็นมนุษย์” ควรตกลงกัน เรื่อง อัตลักษณ์
การพัฒนา อารมณ์ สังคม -วิชา การควบคุมอารมณ์ -วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ -วิชา การแก้ปัญหาสุขภาพจิตในครอบครัว
เยาวชนอาชีวศึกษา - จิตสาธารณะ จิตสำนึกความปลอดภัย ภูมิใจในวิชาชีพที่สร้างชาติ