แบบประเมินผลการปฎิบัติงานเพื่อ พิจารณาความดีความชอบ ครั้งที่ 1 ผลงานในช่วง 1 ตุลาคม - 31 มีนาคม จะให้ส่งภายใน เดือน กุมภาพันธ์ ครั้งที่ 2 ผลงานในช่วง 1 เมษายน - 30 กันยายน จะให้ส่งภายใน เดือน สิงหาคม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำ หลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติ เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ทำ หน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 ร้อยละของงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ได้รับ การจดทะเบียนทรัพย์สินทาง ปัญญา หรือ นำไปใช้ประโยชน์ ทั้งใน ระดับชาติและในระดับ นานาชาติ ต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ที่ 4.5 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับ การอ้างอิงใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ / นานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มี ส่วนร่วมในการให้บริการทางวิชาการ แก่สังคม เป็นที่ปรึกษา เป็น กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ / วิชาชีพ ในระดับชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบ สนองความต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ
ตัวบ่งชี้ที่ 7.7 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการ หรือวิชาชีพใน ระดับชาติ หรือ นานาชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และ การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีระบบและกลไกในการทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 18 ร้อยละของงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่หรือ นำไป ใช้ประโยชน์ ทั้งใน ระดับชาติ / นานาชาติ ต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ ตัวชี้วัด 20 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำการวิจัยจากภายในและภาย นอกสถาบัน ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวชี้วัด 21 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับ การอ้างอิงใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ / นานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวชี้วัด 22 จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการจด ทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ตัวชี้วัด 10 จำนวนโครงการวิจัยใหม่ ตัวชี้วัด 11 จำนวนโครงการวิจัยที่กำลัง ดำเนินการ ตัวชี้วัด 12 จำนวนโครงการวิจัยที่แล้วเสร็จ
ตัวชี้วัด 24 จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยที่อาจารย์ประจำ ให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพ ที่ตอบ สนองความต้องการพัฒนา และเสริมสร้างความเข้มแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวชี้วัด 23 ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบ สนองความต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ ตัวชี้วัด 25 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ เป็นที่ ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการ วิชาการ / วิชาชีพ ในระดับชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ