แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Graduate School Khon Kaen University
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มที่ 3.
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สรุปการประชุมระดมความคิด
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
และการนำไปใช้ประโยชน์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระดับกรม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 (2548-2554) นาย เสมอใจ ศุขสุเมฆ ผู้อำนวยการส่วนติดตามและประเมินผล สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน โรงแรมสยามซิตี้ วันที่ 25 ก.ค. 2548

ประเด็นที่นำเสนอ การติดตามประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการติดตามประเมินผล

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน คณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงาน คณะกรรมการกองทุนเพื่อ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ปลัดกระทรวงพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม สำนักนโยบายและแผนพลังงาน สำนักวิเคราะห์แผนพลังงาน

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงาน เลขานุการกรม 17 สำนักงาน เลขานุการกรม สำนักนโยบายและ แผนพลังงาน 26 สำนักนโยบายและ แผนพลังงาน สำนักวิเคราะห์ แผนพลังงาน * งานบริหารทั่วไป * งานการเจ้าหน้าที่ * งานช่วยอำนวยการ และประชาสัมพันธ์ * งานการคลัง * ส่วนยุทธศาสตร์นโยบาย และแผนพลังงาน * ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศพลังงาน * ส่วนติดตาม และประเมินผล * ส่วนปิโตรเลียม * ส่วนไฟฟ้า * ส่วนอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานหมุนเวียน

การติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน กรรมการกองทุนฯ อำนาจหน้าที่ อนุฯประเมินผล อนุมัติเงินกองทุนเพื่อจ้างที่ปรึกษาประเมินผล ประเมินผลรายโครงการ เสนอข้อพิจารณาประกอบรายงานประเมินผล ตั้งคณะทำงานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย อนุฯประเมินผล สนพ. งานประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน รายงานผล

ปัญหาและอุปสรรค การประเมินที่ผ่านมาทิ้งช่วงเวลาห่าง ผลการประเมินไม่สมบูรณ์ โครงการขาดการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ไม่สามารถปรับแก้โครงการได้ทันการ ขาดเอกภาพในการติดตามประเมินผลโครงการ เจ้าหน้าที่ สนพ. มีจำนวนไม่เพียงพอ

แนวทางการประเมินผลแผนอนุรักษ์ฯ ประเมินผลรายโครงการอย่างต่อเนื่อง เน้นการมีส่วนร่วม ประเมินผลจากระดับโครงการ สู่แผนงาน และแผนอนุรักษ์

เป้าประสงค์ของแนวทางการประเมินผล Awareness ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ และยอมรับแนวทางการติดตามประเมินผล Attempt ก่อให้เกิดความร่วมมือประสานงานในการทำงาน Achievement มีการนำผลที่ได้ไปปรับปรุงงาน

การติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ประเมินความเหมาะสมของแผนการดำเนินโครงการและการสนองตอบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ ก่อนดำเนินโครงการ(Pre-Project) เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ อย่างไร ระหว่างเนินโครงการ(Ongoing-Project) เสร็จสิ้นโครงการ(Project Completion) ประเมินถึงผลสำเร็จของโครงการว่าบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือไม่ ผลกระทบ/ความยั่งยืน(Post-Project) เพื่อดูผลสำเร็จต่อเนื่อง ผลประโยชน์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการในระยะยาว

การติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม  ตรวจติดตามและทบทวน  ตรวจสอบ จับผิด  สร้างความเข้าใจ  สร้างความขัดแย้ง  รับฟังความคิดเห็น  การแสดงความเห็น  ร่วมกันวิเคราะห์  วิพากษ์วิจารณ์

รายงานผลการติดตามและประเมินผล จัดทำระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ การประเมินผลโครงการ แผนงาน และแผนอนุรักษ์ฯ เป้าหมาย การติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน ปีงบประมาณ 2548 ยุทธศาสตร์ แผนอนุรักษ์พลังงาน BSC แผนงานพัฒนา พลังงานทดแทน แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนงานบริหาร เชิงกลยุทธ์ CIPPI โครงการ รายงานผลการติดตามและประเมินผล จัดทำระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ

แผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 เป้าหมาย แผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 แผนงาน พัฒนาพลังงานทดแทน แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนงาน บริหารเชิงกลยุทธ์ 7,530 ktoe 10,353 ktoe พลังงานแสงอาทิตย์ 33 ktoe พลังงานลม 19 ktoe พลังงานน้ำ 102 ktoe พลังงานชีวมวล 3,673 ktoe พลังงานก๊าซชีวภาพ 1,625 ktoe พลังงานจากพืช 2,078 ktoe สาขาขนส่ง 6,269 ktoe สาขาอุตสาหกรรม 3,411 ktoe สาขาบ้านอยู่อาศัย 673 ktoe งานศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย งานบริหารจัดการ งานอื่นๆ มีผู้จบการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 400 คน พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนประถมและมัธยมอย่างน้อย 30,000 โรงเรียน พัฒนาหลักสูตรอุดมศึกษาโดยผลิตบุคลากรภาคอุตสาหกรรม 1,400 คน พัฒนาทักษะผู้ชำนาญการด้านพลังงานระดับท้องถิ่น 500 คน

เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การจัดสรรงบประมาณ ปี 2548 แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน แผนงาน พัฒนาพลังงานทดแทน แผนงาน บริหารเชิงกลยุทธ์ 50 % 35 % 15 % งานศึกษาวิจัยเชิงเทคนิค 65 % งานพัฒนาและสาธิต 20 % งานพัฒนาบุคลากร 10 % งานประชาสัมพันธ์ 5 % งานศึกษาวิจัยเชิงเทคนิค 30 % งานพัฒนาและสาธิต 45 % งานพัฒนาบุคลากร 20 % งานประชาสัมพันธ์ 5 % งานศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย 33 % งานบริหารจัดการ 33 % งานอื่น ๆ ตามนโยบาย 34 % 650 ล้านบาท 455 ล้านบาท 195 ล้านบาท 1,300 ล้านบาท

การกำหนดกลุ่มโครงการในการติดตามและประเมินผล ชั้นภูมิที่ 1 แผนงาน ชั้นภูมิที่ 2 กลุ่มงาน ชั้นภูมิที่ 3 เทคโนโลยี ชั้นภูมิที่ 4 ระดับผลสำเร็จของโครงการ แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน งานศึกษาวิจัยเชิงเทคนิค - การใช้พลังงานในสาขาขนส่ง - การใช้พลังงานในสาขาตสาหกรรม - การใช้พลังงานในบ้านอยู่อาศัย โครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ โครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้น ผลลัพธ์ของโครงการหลังจากที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนฯ งานพัฒนาและสาธิต - การใช้พลังงานในสาขาอุตสาหกรรม งานพัฒนาบุคลากรและประชาสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลากร การประชาสัมพันธ์ แผนพลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานจากพืช ระบบฐานข้อมูล กลไกพัฒนาพลังงานที่สะอาด (CDM) แผนงานบริหารเชิงกลยุทธ์ งานศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย งานบริหารจัดการ งานอื่นๆ รวม 61 โครงการ

การประเมินผลโครงการ โดย CIPPI Model ความยั่งยืนของโครงการ INPUT PROCESS PRODUCT ประสิทธิผล ผลกระทบ ประสิทธิภาพ นโยบายของ สนพ. กลยุทธ์ของ สนพ. แผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 งบประมาณ บุคลากร ทรัพยากร กระบวนการดำเนิน โครงการ การจัดการ / การบริหารโครงการ ผลจากการดำเนินโครงการ ผลตอบแทนด้านพลังงาน ผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจ องค์ความรู้จากโครงการ IMPACT ความมั่นคงด้านพลังงาน การจัดหาพลังงาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม CONTEXT ยุทธศาสตร์ของกระทรวง นโยบายของกระทรวง สถานการณ์พลังงาน เทคโนโลยี การประเมินผลที่ผ่านมา

Balanced Scorecard (BSC) แผนอนุรักษ์พลังงาน พันธกิจ ผลสำเร็จของโครงการ/แผนงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามแผนงานและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินโครงการ การบริหารจัดการ การบริหารจัดการตามแผนงาน บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และงบประมาณ การเรียนรู้และพัฒนา องค์ความรู้จากการดำเนินโครงการ การปรับปรุงและพัฒนาแผนงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เข้าใจวัตถุประสงค์ กรอบและแนวทางติดตามประเมินผลร่วมกัน มีการประสานร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง รูปแบบชัดเจนในการประสานข้อมูลระหว่างกัน ข้อมูลที่ได้มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ผลการประเมินเป็นที่ยอมรับ เรียนรู้และจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล

โครงสร้างการบริหารงานติดตามและประเมินผลแผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 คณะกรรมการกองทุน ฯ คณะอนุกรรมการประเมินผลฯ รายงานผล (ทุกๆ 3 เดือน) คณะทำงาน Steering Committee ส่วนติดตามและประเมินผล ที่ปรึกษา โครงการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน www.eppo.go.th