โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
 6. การจัดการข้อร้องเรียน ชื่อตัวชี้วัด : คำอธิบาย :
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
มีนาคม 2553 งานบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยผู้ป่วย.
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
1. 1. คะแนนประเมินฯ ทั้งสิ้น : หักไม่เกิน 1 คะแนน คำนวณโดยหักคะแนนการนำส่งข้อมูล ล่าช้าวันละ 0.03 คะแนน 2. ประเภทข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯ : 2.2 ข้อมูลการลงทุน.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ วิธีการเรียกเก็บเงินสมทบ ค่าจ้างขั้นต่ำและขั้นสูงที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
ระเบียบวาระการประชุมหัวหน้าส่วนการบริหารงานเทศบาล ครั้งที่ 1/2558 วันจันทร์ที่ 5 มกราคม 2558 เวลา น. ณ ห้องประชุมจุฬามณี 1 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ตัวชี้วัด : 3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร เกณฑ์การให้คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่ 1 – 5 มาเฉลี่ยเป็นน้ำหนักคะแนนเท่ากับร้อยละ 3

หลักเกณฑ์การปฏิบัติ 1. กรณีหน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนผ่านระบบฯ จะไม่นำคะแนนตัวชี้วัดที่ 3.2 มาคำนวณ (กล่าวคือหน่วยงานนั้นๆ จะมีคะแนนเต็มในภาพรวมเท่ากับ 97 คะแนน) 2. กรณีหน่วยงานมีเรื่องร้องเรียนผ่านระบบฯ คะแนนที่ได้จะลดหลั่นลงไปโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์หรือวิธีการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน 3. วิธีการนับวันในแต่ละขั้นตอน จะนับเฉพาะวันทำการ หากในเดือนใดมีวันที่กำหนดในแต่ละขั้นตอนตรงกับวันหยุดจะนับวันทำการถัดไป 4. กรณีที่ระบบฯ ขัดข้องไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตามปกติ ให้หน่วยงานพิมพ์ หน้าจอ(Print Screen) ที่แสดงความผิดปกติของระบบแนบรายงานประจำเดือน หากหน่วยงานไม่จัดทำรายงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ส่งให้กองกลางตามระยะเวลาที่กำหนดจะถูกตัดคะแนน เดือนละ 0.1 คะแนน

ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 : จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานตอบรับภายในกำหนด หน่วยงานต้องตอบรับเรื่องร้องทุกข์จากระบบเรื่องราวร้องทุกข์ภายใน 1 วันทำการ นับถัดจากวันที่ศูนย์รับแจ้งทุกข์ฯ แจ้งดำเนินการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของจำนวนเรื่องร้องเรียน ขั้นตอนที่ 2 : จำนวนเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไข และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการ - ภายใน 3 วันทำการ - ทุกวันที่ 15 - ทุกวันที่ 30

ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 : การติดตามผลการแก้ไขเรื่องร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะอย่างสม่ำเสมอ หน่วยงานต้องมีการติดตามผลการแก้ไขเรื่องร้องเรียน และจัดทำรายงานการสรุปเรื่องร้องเรียนทุกเดือนให้หัวหน้าหน่วยงานทราบและส่งให้กองกลางพิจารณาภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ขั้นตอนที่ 4 : จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข หน่วยงานต้องดำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนให้แล้วเสร็จตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 (พิจารณาตอนสิ้นปี)