การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
ก้าวจากวันวาน...สู่วันนี้...และก้าวไปวันข้างหน้า
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนปฏิบัติการด้านคุ้มครองผู้บริโภค อบต.ปากพูน
ภาพความสัมพันธ์การทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ท่าข้าม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
งานเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ความสำคัญของการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ 2. เพื่อพัฒนาคน กศน. ภายในองค์กร 3. เพื่อเผยแพร่งาน กศน. 4. เพื่อสร้างความเชื่อถือ รักษาและแก้ไข.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน นิรัตน์ เตียสุวรรณ

กลยุทธ์/มาตรการในงานคุ้มครองผู้บริโภค การกำหนดคุณภาพ/มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การกำหนดมาตรฐานการผลิตที่ดี การตรวจสอบเฝ้าระวัง และการบังคับใช้กฎหมาย การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการประกอบการ การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค การพัฒนาเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของประชาชน

การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ทำอย่างไรให้ผู้บริโภคมีศักยภาพที่จะดูแลตนเองได้ ในการเลือกซื้อ เลือกบริโภค ได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สมประโยชน์ และรู้ที่จะปกป้องสิทธิของตนเอง

การประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ความร่วมมือ ความเชื่อมั่นในองค์การ และการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้องค์การ บอร์ดประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ภายใน เสียงตามสาย กิจกรรม

Press release Press conference Press tour Spot ประชาสัมพันธ์ภายนอก Talk Tie-in Print media Board Gimmick

การเผยแพร่ความรู้ การพัฒนาช่องทางที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้สะดวก

สื่อสิ่งพิมพ์ บทความในหนังสือพิมพ์

แผ่นพับ โปสเตอร์ คู่มือ บทวิทยุ บทความรู้ ชุดนิทรรศการ สติกเกอร์ ของที่ระลึก

สื่อที่เป็น Mass Media สารคดี สปอต สนทนา Tie-in Backdrop

สื่อ Electronics สายด่วน อย. Social Media www.oryor.com E-Learning

สื่อกิจกรรม

สื่อบุคคล อย.น้อย อสม. รพ.สต. ภาคีเครือข่าย

สื่ออื่น ๆ LED Display Cinema Ads Bus Ads

การพัฒนาพฤติกรรมผู้บริโภค โครงการอ่านฉลากก่อนซื้อ โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย โครงการอาหารปลอดภัย โครงการรณรงค์การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม โครงการ อย.น้อย

การพัฒนาเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของประชาชน

การมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ประชาชนตระหนักในปัญหา และเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ร่วมคิด ร่วมทำ เกิดแผนชุมชน มาตรการสังคม บูรณาการทรัพยากร ความร่วมมือ

การพัฒนาเครือข่าย การสร้างเครือข่าย แต่ละพื้นที่มี กลุ่ม/องค์กร ต่าง ๆ อยู่ ทำอย่างไรให้เกิดความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยในการบริโภค และเข้ามามีร่วมเป็นภาคีเครือข่าย รวมถึงการใช้ศักยภาพที่แต่ละกลุ่ม/องค์กรมี เพื่อบรรลุเป้าหมายเดียวกัน เชิญแกนนำเครือข่ายร่วมประชุม การสร้างเครือข่าย กำหนดแนวทางทำงาน ประสานงาน และสนับสนุน จัดทำฐานข้อมูลเครือข่าย

มีช่องทางสื่อสารสม่ำเสมอ มีการสนับสนุนสื่อ วัสดุ รักษาเครือข่าย ให้ยั่งยืน จัดกิจกรรมร่วมรณรงค์ มีกรรมการแกนนำเครือข่าย จัด Site Visit จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Partnership for Food Safety Education Fight Bac ! Partnership for Food Safety Education จับมือกันของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ด้านอาหารปลอดภัย ด้วยการผลิตสื่อ และแบ่งปันให้สมาชิกใช้ Brochure E-card Powerpoint Audio & Video

ขอบคุณ